Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมัทยา จิตติรัตน์-
dc.contributor.authorอรศรี อธิกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-10-16T08:12:33Z-
dc.date.available2013-10-16T08:12:33Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36213-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractมาตรการบริการสังคมเป็นรูปแบบหนึ่งซึ่งศาลนำมาใช้กับผู้กระทำความผิดในคดีอาญา เพื่อเป็นเงื่อนไขประกอบการคุมประพฤติตามมาตร 56 หรือเป็นมาตรการแทนการบังคับค่าปรับ ในกรณีที่ผู้ต้องโทษปรับไม่มีเงินชำระค่าปรับตามมาตร 30/1 แต่มาตรการบริการสังคมในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ มีกฎหมายกำหนดให้ศาลนำมาตรการบริการสังคมมาใช้เป็นโทษทางอาญา ส่วนในประเทศสหรัฐอเมริกาก็มีการใช้มาตรการบริการสังคม เป็นรูปแบบหนึ่งของโทษระดับกลางที่อยู่กึ่งกลางระหว่างการคุมประพฤติและการจำคุกตามปกติ นอกจากนี้ประเทศเกาหลีใต้มีการกำหนดให้มาตรการบริการสังคม เป็นเงื่อนไขของการรอการลงโทษแก่ผู้กระทำความผิด ซึ่งจะเห็นได้ว่ามาตรการบริการสังคมในต่างประเทศนั้นมีสภาพบังคับในตัวเอง เพราะศาลสามารถสั่งให้ผู้กระทำความผิดทำงานบริการสังคมได้อย่างมาตรการเดี่ยว โดยไม่ขึ้นกับเงื่อนไขใดๆ ด้วยเหตุนี้เอง ประเทศไทยจึงควรนำมาตรการบริการสังคมมาใช้แทนโทษทางอาญา เพื่อเป็นทางเลือกของศาลในการลงโทษโดยไม่ใช้เรือนจำ โดยให้ถือว่าการนำมาตรการบริการสังคมมาใช้แทนโทษทางอาญา เป็นการลงโทษผู้กระทำความผิดในชุมชนแทนการลงโทษจำคุกในเรือนจำนอกเหนือจากโทษทางอาญาที่มีเพียง 5 ประเภทเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อให้การลงโทษนั้นเหมาะสมกับความผิด และทำให้ผู้กระทำความผิดนั้นได้รับการแก้ไขฟื้นฟูอย่างเหมาะสม จึงควรมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ศาลสามารถมีคำสั่งใช้มาตรการบริการสังคมแทนโทษได้อย่างเป็นอิสระ และมีการกำหนดรูปแบบ ตลอดจนหลักเกณฑ์และวิธีการใช้มาตรการบริการสังคม เช่น ในเรื่องกระบวนการทำคำสั่ง ตลอดจนการกำหนดประเภทงาน ให้เป็นอำนาจของศาลทั้งหมด โดยไม่จำต้องสอบถามความยินยอมของผู้กระทำความผิด หรือในเรื่องระยะเวลาของการทำงานบริการสังคม มีการกำหนดจำนวนชั่วโมงการทำงานที่ค่อนข้างสูง เป็นต้น ซึ่งจะมีความแตกต่างจากมาตรการบริการสังคมที่บัญญัติอยู่ในประมวลกฎหมายอาญาของประเทศไทยในปัจจุบัน อันจะเป็นการพัฒนาระบบการลงโทษที่เป็นประโยชน์ต่อผู้กระทำความผิดและสังคมมากขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeA community service order is a form of panel measure which court shall apply to the offenders as a condition of probation according to Section 56 to the Panel Code. It shall, also, be applied as an alternative to fine depending on the amount of fine and financial condition of the offender according to Section 30/1 of the same Code. However, the community sentence provision enacted in England has stated that the court shall apply a community service order to the offenders as a form of community punishments. Whereas New York state has applied it as a form of intermediate sanctions which are the middle measures between probation and imprisonment. Moreover, in South Korea, a community service order shall be considered as a condition of suspended sentence. Therefore, community service order in those countries shall be applied as a stand–alone punishment without any conditions required by laws. In Thailand, the new form of community service order should be suitable to practice as the court’s alternative to imprisonment or community punishment. It can be substituted to one of the five forms of punishment currently stated in Thai’s criminal justice system, the imprisonment, for the purpose of the offender’s rehabilitation. It is also necessary to amend the Thai provisions related to community service order so that it can be applied to the offenders as a solely punishment independently without any conditions of law. In addition, there must be a provision regarding the community service of the offenders which is different from the community service order currently stated in the Thai Panel Code. Not only that this solely punishment form of community service order will make more benefit pertaining to the rehabilitation of the offenders, but the community as well.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1113-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -- ไทยen_US
dc.subjectกระบวนการกำหนดโทษคดีอาญา -- ไทยen_US
dc.subjectการลงโทษโดยให้ทำงานบริการสังคม -- ไทยen_US
dc.subjectการคุมประพฤติ -- ไทยen_US
dc.subjectการลงโทษ -- ไทยen_US
dc.subjectCommunity service (Punishment) -- Thailanden_US
dc.subjectSentences (Criminal procedure) -- Thailanden_US
dc.subjectCriminal justice, Administration of -- Thailanden_US
dc.subjectProbation -- Thailanden_US
dc.subjectPunishment -- Thailanden_US
dc.titleมาตรการบริการสังคมกับโทษในคดีอาญาen_US
dc.title.alternativeCommunity service order and criminal punishmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1113-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
orrasri_at.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.