Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุนิษา เลิศโตมรสกุล-
dc.contributor.authorประพาฬรัตน์ สุขดิษฐ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-29T10:20:39Z-
dc.date.available2013-10-29T10:20:39Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36459-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractศึกษามุมมองทางอาชญาวิทยาต่อการปลูกถ่ายอวัยวะที่ผิดจริยธรรม โดยมีค่าตอบแทนในทำนองซื้อขายอวัยวะ กระบวนการในการประกอบธุรกิจซื้อขายอวัยวะมนุษย์ในรูปแบบต่างๆ ที่เกิดขึ้น ศึกษานโยบายรัฐที่ใช้ในการป้องกันและปราบปรามการซื้อขายอวัยวะมนุษย์ในประเทศไทยและต่างประเทศ และศึกษาถึงความเป็นไปได้ที่จะนำมากำหนดเป็นมาตรการพื้นฐาน หรือตรากฎหมายและบังคับใช้กฎหมายเฉพาะในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายอวัยวะมนุษย์ ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้ 1. เอกสารงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก 3. การศึกษาประวัติชีวิต เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการปลูกถ่ายอวัยวะที่ผิดจริยธรรม เกิดจากปัญหาความขาดแคลนอวัยวะเป็นสำคัญ สำหรับสาเหตุของการให้อวัยวะเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น ผู้ให้อวัยวะไม่ได้เต็มใจให้อวัยวะอันเป็นการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน การลักลอบเอาอวัยวะมาใช้เพื่อปลูกถ่าย และมีการประกอบธุรกิจกันเป็นองค์กร ซึ่งผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ มีมุมมองทั้งในด้านบวกและด้านลบ ในด้านบวกเห็นว่าการปลูกถ่ายอวัยวะที่ผิดจริยธรรมโดยมีค่าตอบแทนในทำนองซื้อขายอวัยวะ เป็นการช่วยเหลือคู่กรณีให้พ้นจากสภาวะปัญหาที่กำลังประสบอยู่ และเป็นการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอวัยวะอีกทางหนึ่งด้วย ส่วนด้านลบนั้นถ้าไม่มีกฎหมายหรือมาตรการควบคุมที่เหมาะสม จะเกิดเป็นตลาดซื้อขายอวัยวะมนุษย์ได้อย่างเสรีและก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม ทั้งยังชี้ให้เห็นถึงความไม่เท่าเทียมกันในสังคมอีกด้วย ดังนั้นจึงมีข้อเสนอแนะถึงเรื่องประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนหันมาบริจาคอวัยวะให้เพิ่มมากขึ้น ปลูกฝังจริยธรรม ขจัดความเชื่อที่ไม่ถูกต้องและควรตรากฎหมายเฉพาะ เพื่อควบคุมการซื้อขายอวัยวะมนุษย์ในประเทศไทย โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกๆฝ่ายที่เกี่ยวข้องen_US
dc.description.abstractalternativeTo study criminological aspects on unethical human organs transplantation. Human organs trading business process which happened in many circumstances. State policy relate to the prevention and suppression of human organs trafficking in Thailand and other countries. To study the possibility to bring such on policy to set the standard measure or legislate and enforce a specific law in Thailand, relate to the human organs trade. In this study the researcher used. 1. Related Researched Documentaries 2. In depth interview. 3. The study of life profile as a tool for collecting data. The results founded that, the reason for unethical human organs transplantation is start when there is the shortage of human organs. The reasons for the give of human organs have many reasons such as human rights violations by the owners of the organ are not willing to donor. Unauthorized remove the organ transplant, and run such business with a business organization. Those people who have different views about both positive and negative issues. Positive issue is that the human organ trading shall assist the other parties from the current problem. And the problem of shortage of human organs, in another hand, the negative issue is if there are no appropriated laws or controls, there will create a trading human organs market and will cause crime problem. Also shows the inequality in society as well. Therefore, the suggestion is to promote by public relations to increase organ donation from the people. Increases ethics. Remove incorrect beliefs and should legislate a specific law to control human organs trade in Thailand.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1216-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาชญาวิทยาen_US
dc.subjectสิทธิมนุษยชนen_US
dc.subjectการปลูกถ่ายอวัยวะ เนื้อเยื่อ ฯลฯen_US
dc.subjectการค้าอวัยวะมนุษย์en_US
dc.subjectCriminologyen_US
dc.subjectHuman rightsen_US
dc.subjectTransplantation of organs, tissues, etc.en_US
dc.subjectOrgan traffickingen_US
dc.titleมุมมองทางอาชญาวิทยาต่อการปลูกถ่ายอวัยวะที่ผิดจริยธรรมen_US
dc.title.alternativeCriminological aspects on unethical human organs transplantationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorUnisa.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1216-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
praphanrat_su.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.