Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37424
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระ เหมืองสิน-
dc.contributor.authorนันทนัช ตั้งปัญจศิล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-11T07:59:14Z-
dc.date.available2013-12-11T07:59:14Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37424-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractด้วยแนวโน้มการใช้งานเว็บรุ่นที่ 2 (Web 2.0) ที่มากขึ้น จึงมีการใช้เทคนิคใหม่ๆ เช่น การนำข้อมูลจากหลายแหล่งมาผสมผสานกัน (Mashup) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนข้อมูล การสร้างโปรแกรมประยุกต์ที่ให้กลุ่มคนเข้ามามีส่วนร่วม (Crowdsourcing) และการทำแผนที่โดยใช้เอพีไอ (map API) ในด้านของแพลตฟอร์มการโปรแกรมเว็บ (Web programing platform) เช่น เอชทีเอ็มแอลรุ่นที่ 5 (HTML5) เฟสบุ้ค (Facebook) และทวิตเตอร์ (Twitter) ได้เพิ่มส่วนที่สนับสนุนการใช้งานสำหรับระบุตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ (Geo-location) เข้าไปด้วย เทคโนโลยีเหล่านี้ช่วยอำนวยความสะดวกให้เกิดการสร้างข้อมูลทางภูมิศาสตร์ขึ้นและกระจายข้อมูลได้โดยง่าย อย่างไรก็ตาม ระบบภูมิสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และเว็บไซต์ที่มีอยู่ก่อนหน้านี้ก็ยังถูกใช้งานอยู่อย่างแพร่หลาย ซึ่งเว็บไซต์จำนวนมากนี้มีการนำเสนอข้อมูลที่มีความสัมพันธ์เชิงพื้นที่แต่ไม่ได้ถูกจัดเตรียมให้อยู่ในรูปแบบที่พร้อมจะนำไปใช้งานกับเว็บโปรแกรมประยุกต์ทางภูมิศาสตร์รุ่นใหม่ งานวิจัยนี้จึงต้องการจัดทำข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ในเชิงพื้นที่ให้อยู่ในรูปแบบที่พร้อมใช้งานสำหรับเว็บโปรแกรมประยุกต์ทางภูมิศาสตร์รุ่นใหม่ โดยมุ่งเน้นไปที่ข้อมูลที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ และไม่อยู่ในรูปของข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยงานวิจัยได้นำเสนอวิธีการคือวีธีในการสร้างเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูล และกระจายข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลายหลาย งานวิจัยได้พัฒนาคลังข้อมูลเชิงพื้นที่ซึ่งสามารถนำข้อมูลเข้ามาจัดเก็บได้ทั้งข้อมูลที่อยู่ในรูปของข้อมูลทางภูมิศาสตร์และยังไม่อยู่ในรูปของข้อมูลทางภูมิศาสตร์ และแปลงข้อมูลให้อยู่รูปของมาตรฐานของโอจีซี (OGC) เพื่อใช้งานกับเว็บประยุกต์ทางภูมิศาสตร์en_US
dc.description.abstractalternativeFollowing the Web 2.0 trend, the emerging generation of geographic applications is using new techniques such as map mash-ups, sharing, crowdsourcing, mapping application programming interface (map API). Modern Web programming platforms, e.g. HTML5, Facebook, or Twitter, have also added supports for Geo-location. These technologies have created new approaches to create, distribute and use geographic information. However, the previous generation of geographic information systems and Web mapping sites are still widely used. In addition, there are a lot of web sites that provide location-related data that are not in suitable GIS formats. The aim of this paper is to make all geographic-related data, especially dynamic and non-GIS data, available for modern Web geographic applications. Our approach is to create a methodology and tools for collection, storage and dissemination of geospatial data from various sources. We have developed a geospatial repository where GIS and non-GIS data can be imported and converted into OGC (Open Geospatial Consortium) standard formats for web GIS applications.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1102-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์บนเว็บen_US
dc.subjectเว็บเซอร์วิสen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์en_US
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แบบเคลื่อนที่en_US
dc.subjectโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศen_US
dc.subjectบริการบอกตำแหน่งen_US
dc.subjectWeb applicationsen_US
dc.subjectWeb servicesen_US
dc.subjectGeographic information systemsen_US
dc.subjectMobile geographic information systemsen_US
dc.subjectSpatial data infrastructuresen_US
dc.subjectocation-based servicesen_US
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือรวบรวมข้อมูลทางภูมิสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลเชิงพื้นที่บนเว็บen_US
dc.title.alternativeDevelopment of GIS data collector tool for spatial data on the weben_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorveera.m@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1102-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nuntanut_ta.pdf5.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.