Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร-
dc.contributor.authorพัชราภา ตันติชูเวช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2014-02-24T07:46:44Z-
dc.date.available2014-02-24T07:46:44Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39497-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างความพึงพอใจในความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับบุตรสาววัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นคู่มารดาและบุตรสาววัยรุ่นที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และอยู่ในครอบครัวที่ไม่มีการหย่าร้าง โดยมีบิดา มารดาและบุตรสาววัยรุ่นอยู่ด้วยกันมีสถานะเศรษฐกิจและสังคมอยู่ในระดับเดียวกัน ทั้งหมด 20 คู่ แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 10 คู่และกลุ่มควบคุม 10 คู่ ที่มีลักษณะปัญหาความสัมพันธ์คล้ายคลึงกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบวัดความพึงพอใจในความสัมพันธ์ระหว่างมารดาและบุตรสาววัยรุ่น แบบวัดการสื่อสารระหว่างมารดากับบุตรสาววัยรุ่น และโปรแกรมเสริมสร้างความพึงพอใจในความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับบุตรสาววัยรุ่นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง ผลการวิจัยพบว่า 1. มารดาและบุตรสาววัยรุ่นที่เข้าร่วมโปรแกรมเสริมสร้างความพึงพอใจในความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับบุตรสาววัยรุ่นจะมีความพึงพอใจในความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับบุตรสาววัยรุ่นสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม 2. มารดาและบุตรสาววัยรุ่นที่เข้าร่วมโปรแกรมเสริมสร้างความพึงพอใจในความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับบุตรสาววัยรุ่นจะมีความพึงพอใจในความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับบุตรสาววัยรุ่นสูงกว่ามารดาและบุตรสาววัยรุ่นที่ไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรมen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop an intervention program for enhancing satisfaction in mother-adolescent daughter relationships. The samples were 20 pairs of mothers and adolescent daughters who study in grade 9 and live together with their father and mother in the family. The samples were divided into 2 groups, 10 pairs in the experiment group and 10 pairs in the control group. Both groups had the same socioeconomics level and the same relationship problems. The research instruments were Family Satisfaction Scale, Parent and Adolescent Communication Scale and An Intervention Program for Enhancing Satisfaction in Mother-Adolescent Daughter Relationships. The data were analyzed by Two-way Analysis of Variance. The result shows that 1. Mother and adolescent daughters who participated in the intervention program were more satisfied in the irrelationship than before joining the program. 2. Mother and adolescent daughters who enter the intervention program were more satisfied in their relationships than those who did not join the program.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectมารดาและบุตร -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectมารดาและบุตรสาว -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectมารดาและบุตร -- ความสัมพันธ์ในครอบครัวen_US
dc.subjectมารดาและบุตรสาว -- ความสัมพันธ์ในครอบครัวen_US
dc.subjectMother and child -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectMothers and daughters -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectMother and child -- Family relationshipsen_US
dc.subjectMothers and daughters -- Family relationshipsen_US
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างความพึงพอใจในความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับบุตรสาววัยรุ่นen_US
dc.title.alternativeA development of an intervention program for enhancing satisfaction in mother-adolescent daughter relationshipsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpsy@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
patchrapa.pdf13.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.