Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3953
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ บารมี-
dc.contributor.advisorวราภรณ์ ขจรไชยกูล-
dc.contributor.authorเอกอร ควชะกุล, 2518--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-08-30T11:42:32Z-
dc.date.available2007-08-30T11:42:32Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743334769-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3953-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการคลอริเนตถุงมือยางเป็นกระบวนการที่ทำให้ถุงมือลื่นอย่างถาวร โดยนำถุงมือยางปั่นกับน้ำคลอรีน คลอรีนจะเข้าทำปฏิกิริยาที่ผิวถุงมือยางทำให้ถุงมือลื่นอย่างถาวรไม่ต้องใช้แป้งช่วยหล่อลื่นถุงมือ งานวิจัยนี้ศึกษาภาวะที่เหมาะสมในการคลอริเนตถุงมือยางทางการแพทย์ที่ได้คุณภาพตามข้อกำหนดของ มอก. 538-2540 (ถุงมือยางปราศจากเชื้อสำหรับการศัลยกรรมชนิดใช้ครั้งเดียว), มอก. 1056-2540 (ถุงมือยางสำหรับการตรวจโรคชนิดใช้ครั้งเดียว), ASTM D 3577-99 (ถุงมือยางสำหรับการศัลยกรรม) และ ASTM D 3578-99 (ถุงมือยางสำหรับการตรวจโรค) ถุงมือยางที่ใช้ในงานวิจัยนี้ผลิตขึ้นเองตามสูตรที่กำหนด ตัวแปรที่ใช้ศึกษาคือ อายุการบ่มน้ำยางผสมสารเคมี (4, 5, 6 และ 7 วัน) ก่อนนำไปใช้จุ่มถุงมือ ความเข้มข้นของน้ำคลอรีน (ร้อยละ 0.05, 0.06 และ 0.07 โดยมวล) เวลาคลอริเนชัน (5, 10 และ 15 นาที) แล้วนำถุงมือที่ได้ศึกษาสมบัติด้านการดึงยาง, ลักษณะพื้นผิว, การเปลี่ยนสี, การเกาะติดกันของพื้นผิว และปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ จากการศึกษาพบว่าภาวะที่เหมาะสมในการคลอริเนตถุงมือยางคือ อายุการบ่มน้ำยาง 6-7 วัน ความเข้มข้นของน้ำคลอรีนร้อยละ 0.07 โดยมวล และเวลาคลอริเนชัน 10 นาที ถุงมือที่ได้มีสมบัติดังนี้ พื้นผิวถุงมือไม่เหนียวติดกัน ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ลดลง และสมบัติด้านการดึงยางอยู่ในเกณฑ์ข้อกำหนดของมอก. 538-2540, มอก. 1056-2540, ASTM D 3577-99 และ ASTM D 3578-99en
dc.description.abstractalternativeChlorination of rubber gloves is normally used to enhance the smoothness of the surface. Chlorination process is based upon dipping rubber glove into a solution containing free Chlorine. The Chlorine will react with the glove surface, hence smoothness of the surface and powder free glove is obtained. The aim of this work is to find optimal chlorination conditions of rubber gloves which meet the requirement of TISI 538-2540, TISI 1056-2540, ASTM D 3577-99 and ASTM D 3578-99. The gloves of this study were produced from setting compounded latex formula. The experiment had been conducted by varying the maturation time of compounded latex at 4, 5, 6 and 7 day ; concentrations of Chlorine at 0.05, 0.06 and 0.07% by weight ; time of chlorination at 5, 10 and 15 minutes. The tensile properties, the glove surface, color changes, sticky of the glove surface and extractable protein content, were studied. It was showed that optimal chlorination conditions of rubber gloves were compounded latex matured for 6 and 7 days; concentrations of Chlorine was 0.07% by weight ; time of chlorination was 15 minutes. The results obtained were smoothness of the glove survace, decrease of extratable protein content and tensile properties met the requirement of TISI 538-2540, TISI 1056-2540, ASTM D 3577-99 and ASTM D 3578-99en
dc.format.extent11685771 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectถุงมือยางen
dc.subjectน้ำยางen
dc.titleภาวะที่เหมาะสมในการคลอริเนตถุงมือยางen
dc.title.alternativeOptimal conditions on chlorination of rubber glovesen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ekon.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.