Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาวี ศรีกูลกิจ-
dc.contributor.authorวลัยกร นิตยพัฒน์, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-09-14T09:24:27Z-
dc.date.available2007-09-14T09:24:27Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741760035-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4119-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractศึกษาการเตรียมพอลิพรอพิลีนที่สามารถย้อมสีได้ โดยอาศัยหลักการของนาโนเทคโนโลยี โดยมอนต์มอริลโลไนต์ซึ่งเป็นแร่กลุ่มอะลูมิโนซิลิเกต ถูกนำมาดัดแปรด้วยสารประกอบควอเทอร์นารีแอมโมเนียม เพื่อให้มีสมบัติที่เข้ากันได้กับสารอินทรีย์ จากนั้นนำออร์กาโนเคลย์ไปเคลือบบนผิวของพอลิพรอพิลีน ก่อนนำไปผสมในเครื่องอัดรีดเกลียวคู่ เพื่อให้ได้นาโนคอมโพสิตออร์กาโนเคลย์/พอลิพรอพิลีน แล้วนำไปขึ้นรูปฟิล์มด้วยเครื่องอัดแม่แบบ แล้วศึกษาหาความสามารถในการติดสีย้อม วิเคราะห์โครงสร้างของมอนต์มอริลโล-ไนต์ ภายในนาโนคอมโพสิต ทดสอบสมบัติเชิงกลสมบัติทางความร้อน ผลการศึกษาสมบัติการติดสีย้อมพบ ฟิล์มนาโนคอมโพสิตสามารถย้อมติดสีได้ทั้งสีแอซิด (สีประจุลบ) และสีเบสิก (สีประจุบวก) เนื่องจากการมีตำแหน่งที่สามารถย้อมสีได้จากประจุบวกของควอเทอร์นารีแอมโมเนียม และประจุลบจากอนุภาคของมอนต์มอริลโลไนต์ตามลำดับ ความเข้มของสีพบว่า ขึ้นอยู่กับปริมาณของสารประกอบควอเทอร์นารีแอมโมเนียม และมอนต์มอริลโลไนต์ที่ถูกดัดแปร สมบัติความคงทนของสี เช่น ความคงทนของสีต่อการซักและความคงทนของสีต่อแสง เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับที่พบในเส้นใยทั่วไป และการทดสอบสมบัติอื่นๆ เช่น สมบัติเชิงกลและเสถียรภาพทางความร้อน ซึ่งพอจะสรุปได้ว่าพอลิพรอพิลีน สามารถทำให้มีความสามารถย้อมสีได้โดยการเตรียมในรูปนาโนคอมโพสิตen
dc.description.abstractalternativeTo prepare the dyeable polypropylene based on the fundamental of nanotechnology. Firstly, montmorillonite, the layered aluminosilicate clay; was modified with the quaternary ammonium compound to render its organophilic property. The obtained organoclay was coated onto the surface of polypropylene before mixing in the twin screw extruder to achieve the organoclay/polypropylene nanocomposite. The nanocomposite film was then prepared using compression moulding machine for further investigations including dyeability, structural analysis, mechanical and thermal properties. The results of dyeing properties showed that the nanocomposite film was dyeable with both acid dyes (anionic dyes) and basic dyes (cationic dyes) due to the presence of dye sites, quaternary ammonium cation and anionic charge of montmorillonite particle, respectively. The color strength was found to be dependent on the amounts of quaternary ammonium compound as well as montmorillonite applied. The fastness properties such as wash fastness andlight fastness were in similar fashion as found in the traditional fibers. Other properties such as mechanical and heat stability were also reported. These finding led to the conclusion that polypropylene could exhibit the marked dyeability through the preparation of nanocomposite formen
dc.format.extent1402663 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโพลิโพรพิลีนen
dc.subjectวัสดุโครงสร้างนาโนen
dc.subjectมอนต์มอริลโลไนต์en
dc.subjectสีย้อมและการย้อมสีen
dc.titleการเตรียมฟิล์มนาโนคอมโพสิตออร์กาโนเคลย์/พอลิพรอพิลีนที่ย้อมสีได้en
dc.title.alternativePreparation of dyeable organoclay/polypropylene nanocomposite filmen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorkawee@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WalaikornNi.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.