Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJintana Thunwaniwat-
dc.contributor.advisorPeng Zongping-
dc.contributor.authorShu-Chuan Chen-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Arts-
dc.date.accessioned2014-03-23T06:27:07Z-
dc.date.available2014-03-23T06:27:07Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41729-
dc.descriptionThesis (LA.M.)--Chulalongkorn University, 2007en_US
dc.description.abstract漢語語音教學的目的,是使學習者掌握漢語語音的基礎知識和發出正確的漢語語音,為流利的口語溝通紮下根基。如何教這樣的學生學好漢語拼音,是本文提出的核心問題。本文在多方面收集、研討相關文獻,如:《漢語拼音方案》的由來及制定規則,漢、泰語音對比分析,兒童與第二語言學習發展等的基礎上,著重研究面對泰語環境下國際學校小學生的不同需求,教師如何將《漢語拼音方案》的專業知識詮釋為淺顯易懂的常識教授給他們,並創造科學、有效的教學法作爲輔助手段。   本研究結果發現,造成漢語拼音學習與掌握困難的原因有,一、母語本身的干擾;二、多語環境的限制;三、教學手段的匱乏。因此,對泰語環境下 小學生出現的學習難點,教師應有充分的了解,並具備對所要教授的理論認識。經筆者對《漢語拼音方案》教學方法的分析比較和全面研究,分別歸納整理出了教授《漢語拼音方案》聲、韻、調的具體方法,並對在教學實踐中創造的、適合泰國當地國際學校小學生使用的若干教學法進行了初步總結,如:“字母代表稱謂法”、“誘導法”、“聯想法”、“比較法”、“說故事法”等,不僅為相關的漢語教師提供了教學參考,而且在一定程度上填補了這方面的研究空白。本文並提出了今後的研究方向,以期對後來者有所裨益。-
dc.description.abstractalternativeจุดประสงค์ของการเรียนการสอนระบบเสียงภาษาจีนกลาง คือ ทำให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบเสียงภาษาจีนกลาง และสามารถออกเสียงได้อย่างถูกต้อง เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญในการพูดภาษาจีนได้อย่างคล่องแคล่ว การสอนระบบสัทอักษรภาษาจีนกลางอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ จึงเป็นหัวข้อสำคัญในการวิจัยครั้งนี้ งานวิจัยนี้มีการศึกษาวิจัยและรวบรวมข้อมูลที่หลากหลาย เช่น การศึกษาความเป็นมาของระบบสัทอักษรภาษาจีนกลาง การเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาจีนกลางกับภาษาไทย เด็กกับการเรียนภาษาที่สอง การวิจัยนี้เน้นเฉพาะความต้องการที่หลากหลายของนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนนานาชาติในสภาพแวดล้อมที่ใช้ภาษาไทย ครูจะนำความรู้เกี่ยวกับระบบสัทอักษรภาษาจีนกลางแบบที่เข้าใจง่ายไปสอนนักเรียนได้อย่างไร นอกจากนี้คิดหากระบวนการสอนที่เป็นวิทยาศาสตร์ และเป็นวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุที่เป็นอุปสรรคของการเรียนการสอนระบบสัทอักษรภาษาจีนกลาง ประกอบด้วย 1) อิทธิพลของภาษาแม่ 2) สภาพแวดล้อมที่มีการใช้ภาษาที่หลากหลาย 3) การขาดกระบวนการสอนที่ดี ดังนั้น สำหรับอุปสรรคในการเรียนการสอนภายใต้สภาพแวดล้อมที่ใช้ภาษาไทย ครูควรจะมีความเข้าใจ และมีความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการสอน จากการศึกษาเปรียบเทียบและการวิเคราะห์ในด้านต่างๆ เกี่ยวกับวิธีการสอนระบบสัทอักษรภาษาจีนกลาง การสอนระบบสัทอักษรภาษาจีนกลาง อาจแบ่งการสอนเป็น 3 ส่วน ดังนี้ การสอนพยัญชนะ การสอนสระ และการสอนวรรณยุกต์ นอกจากนี้จากประสบการณ์การสอนผู้วิจัยได้คิดค้นวิธีสอนที่เหมาะสมกับการสอนนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนนานาชาติที่อยู่ในประเทศไทยได้โดยมีวิธีการสอนแบบต่างๆ เช่น การตั้งชื่อตัวอักษร การสาธิต การเชื่อมต่อทางความคิด การเปรียบเทียบ การเล่านิทาน เป็นต้น งานวิจัยนี้ไม่เพียงแต่จะเป็นข้อมูลอ้างอิงให้กับผู้สอนภาษาจีนกลาง ยังสามารถทำให้งานวิจัยด้านการเรียนการสอนภาษาจีนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น งานวิจัยนี้ยังได้เสนอทิศทางเกี่ยวกับการวิจัยภายภาคหน้า จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับนักวิจัยในอนาคต-
dc.language.isozhen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectChinese language -- Phonetics-
dc.subjectInternational school-
dc.subjectChinese language -- Thailand -- Study and teaching-
dc.subjectChinese language -- Alphabet-
dc.subjectภาษาจีน -- สัทศาสตร์-
dc.subjectโรงเรียนนานาชาติ-
dc.subjectภาษาจีน -- ไทย -- การศึกษาและการสอน-
dc.subjectภาษาจีน -- ตัวอักษร-
dc.titleA methodology for teaching hanyu pinyin to elementary students at international schools in Thailanden_US
dc.title.alternativeวิธีการสอนสัทอักษรภาษาจีนกลางระดับประถมศึกษาของโรงเรียนนานาชาติในประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineChinese as a Foreign Languageen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Shu-Chuan_ch_front.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open
Shu-Chuan_ch_ch1.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Shu-Chuan_ch_ch2.pdf4.97 MBAdobe PDFView/Open
Shu-Chuan_ch_ch3.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open
Shu-Chuan_ch_ch4.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open
Shu-Chuan_ch_ch5.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Shu-Chuan_ch_back.pdf9.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.