Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42084
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Thanomnuan O’charoen | - |
dc.contributor.author | Nantana Anuntkosol | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Arts | - |
dc.date.accessioned | 2014-04-03T06:25:42Z | - |
dc.date.available | 2014-04-03T06:25:42Z | - |
dc.date.issued | 2012 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42084 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2012 | en_US |
dc.description.abstract | Die vorliegende Arbeit versucht die Vergangenheitsbewältigung der Erzählfiguren mit ihren eigenen NS-Familienmitgliedern in drei zeitgenössischen Werken zu ermitteln. Diese sind Dagmar Leupolds Nach den Kriegen. Roman eines Lebens (2004), Thomas Medicus’ In den Augen meines Großvaters (2004) und Uwe Timms Am Beispiel meines Bruders (2003). Die Untersuchung fokussiert auf den Prozess und die Methode der Aufarbeitung in den Primärtexten. So werden die folgenden Aspekte analysiert, nämlich die Ausgangssituation, die Erinnerungsrekonstruktion sowie das Ergebnis der Aufarbeitung. Ferner sollen die verwendeten Erzähltechniken in den jeweiligen Werken mitberücksichtigt werden. Aus der Untersuchung geht hervor, dass die Vergangenheitsbewältigung in den drei Werken von der Lücke in der Biographie der Erzählfiguren geprägt wird. Diese Lücke ergibt sich aus dem Nichtwissen und Schweigen über die Vergangenheit des jeweiligen NS-Familienmitglieds. Die Aufarbeitung der Vergangenheit ermöglicht, dass sich die Erzählfiguren ihren Familienangehörigen annähern und dabei auch Klarheit über sich selbst gewinnen. Trotz alledem bleibt die Vergangenheitsbewältigung unvollständig, weil die Untersuchungsfaktoren wie etwa die Kindheitserinnerungen sowie die hinterlassenen Dokumente unzureichend und nur teilweise zuverlässig sind. Dennoch sind die aus der Untersuchung erlangten Kenntnisse ausreichend für die konkrete Gestaltung einer familiären Kontinuität. Ungeachtet der offenen Stellen in der Familiengeschichte ist die Vergangenheitsbewältigung jeder Erzählfigur gelungen. | en_US |
dc.description.abstractalternative | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการค้นหาความจริงจากอดีตของตัวละครผู้เล่าเรื่องในงานวรรณกรรมเรื่อง นาค เดน ครีเกน. โรมาน อายเนส เลเบนส์ (Nach den Kriegen. Roman eines Lebens) ของดากมาร์ ลอยโพล์ด (Dagmar Leupold), อิน เดน เอาเกน มายเนส โกรสฟาเธอร์ส (In den Augen meines Großvaters) ของโธมัส เมดิคุส (Thomas Medicus) และ อัม ไบชปีล มายเนส บรูเดอร์ส (Am Beispiel meines Bruders) ของอูเวอ ทิมม์ (Uwe Timm) โดยวิเคราะห์กระบวนการและวิธีการที่ตัวละครผู้เล่าเรื่อง ใช้ในการค้นหาความจริงจากอดีตของสมาชิกครอบครัวที่เคยเข้าร่วมกับขบวนการนาซี การ วิเคราะห์ครอบคลุมประเด็นเรื่องปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดกระบวนการค้นหา การรื้อฟื้นความ ทรงจำ และผลที่ได้จากการค้นหาความจริงจากอดีต นอกจากนี้ ยังวิเคราะห์รูปแบบวิธีการนำ เสนอประเด็นดังกล่าวในงานวรรณกรรมทั้งสามเรื่อง จากการวิจัยพบว่า การค้นหาความจริงจากอดีตเกิดจากช่องว่างในชีวประวัติของตัว ละครผู้เล่าเรื่องอันมีสาเหตุมาจากความไม่รู้และการไม่กล่าวถึงสมาชิกครอบครัวที่เป็นอดีต สมาชิกนาซี การศึกษาค้นหาอดีตจึงเปิดโอกาสให้ตัวละครผู้เล่าในวรรณกรรมทั้งสามเรื่องได้ เข้าใกล้และรู้จักสมาชิกครอบครัวเพิ่มขึ้น อีกทั้งได้เข้าใจตนเองมากขึ้น อย่างไรก็ตามตัวละคร ผู้เล่าเรื่องไม่สามารถค้นหาความจริงจากอดีตได้ครบถ้วนสมบูรณ์ เนื่องจากปัจจัยที่ใช้ ประกอบกระบวนการค้นหา เช่น ความทรงจำวัยเด็ก และเอกสารเก่า มีจำนวนจำกัดและเชื่อ ถือได้เพียงบางส่วนเท่านั้น แต่กระนั้นก็ตาม ข้อมูลที่ได้รับเพียงพอสำหรับการสร้างความต่อ เนื่องของประวัติครอบครัวได้ ถึงแม้ว่ายังคงมีประเด็นข้อสงสัยในประวัติครอบครัวที่หาคำ ตอบไม่ได้ก็ตาม แต่ถือได้ว่าการค้นหาความจริงจากอดีตของตัวละครผู้เล่าเรื่องในวรรณกรรม ทั้งสามเรื่องบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.464 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Literature -- History and criticism | en_US |
dc.subject | Characters and characteristics in literature | en_US |
dc.subject | วรรณกรรม -- ประวัติและวิจารณ์ | en_US |
dc.subject | ตัวละครและลักษณะนิสัยในวรรณกรรม | en_US |
dc.title | Vergangenheitsbewältigung in dagmar leupolds Nach Den Kriegen. Roman Eines Leben, Thomas Medicus’ In Den Augen Meines Großvaters Und Uwe Timms Am Beispiel Meines Bruders. Hauptgutachterin | en_US |
dc.title.alternative | การค้นหาความจริงจากอดีตในวรรณกรรมเรื่อง นาค เดน ครีเกน. โรมาน อายเนส เลเบนส์ ของดากมาร์ ลอยโพล์ด อิน เดน เอาเกน มายเนส โกรสฟาเธอร์ส ของโธมัส เมดิคุส และ อัม ไบชปีล มายเนส บรูเดอร์ส ของอูเวอ ทิมม์ | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Arts | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | German | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | No information provided | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.464 | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
nantana_an.pdf | 2.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.