Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42093
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSumaeth Chavadej-
dc.contributor.advisorMsahiko Abe-
dc.contributor.advisorRatana Rujiravanit-
dc.contributor.authorSasiwan Maksung-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2014-04-03T12:15:10Z-
dc.date.available2014-04-03T12:15:10Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42093-
dc.descriptionThesis (M.S.) -- Chulalongkorn University, 2007en_US
dc.description.abstractBiosurfactant production in two identical units of sequencing batch reactors (SBRs) was investigate by using a crude oil-contaminated soil isolated Pseudomanas aeruginosa SP 4. The SBR units, having a working and draining volume of 1,500 and 500 ml, respectively, were operated at a constant temperature of 37C under aseptic conditions. The sedimentation, decanting, and feeding step used for all experiments were 50, 5, and 5 min, respectively. Biosurfactant production was studied with palm oil being used as a carbon source and fish steaming waste or mineral medium being used as a nutrient source for growing Pseudomonas aeruginosa SP 4. Effect of nutrient sources, oil loading rates, and cycle times on surface tension reduction, and COD and oil removal were investigated. Among the two nutrient sources, the mineral medium gave the highest reduction of surface tension at an oil loading rate of 2 kg/m3 d. An oil loading rate of 2 kg/m3d with the mineral medium provided the effective surface tension reduction of 28.1/N/m, corresponding to a COD removal of 88% and an oil removal of 94%. From aeration time profile during a steady state cycle, a minimum surface tension was reached at aeration time in the range of 6 to 10 h. In comparing the biosurfactant production with 1-d cycle and 3-d cycle under the same extent of oil concentration (0.6% w/v), the highest surface tension reduction obtained was 58% with 1-d cycle.-
dc.description.abstractalternativeการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะต่อเนื่องจำนวน 2 ชุด ที่มีลักษณะเหมือนกัน ได้ถูกศึกษาโดยใช้จุลินทรีย์ Pseudomonas aeruginosa SP 4 ซึ่งทำการคัดแยกมาจากแหล่งปิโตรเลียมที่มีดินปนเปื้อนน้ำมันเป็นเวลานาน หน่วยของเครื่องปฏิกรณ์แบบกะต่อเนื่องมีปริมาตรในการทำงานคือ 1,500 มล. และปริมาตรในการดึงสารผลิตภัณฑ์คือ 500 มล. เครื่องปฏิกรณ์แบบกะต่อเนื่องนี้ควบคุมอุณหภูมิไว้ที่ 37 องศา และทำการทดลองภายใต้สภาวะปลอดเชื้อ เวลาที่ใช้ในการตกตะกอน ดึงสารผลิตภัณฑ์ออก และเติมสารขาเข้า ตลอดการทดลองคือ 50, 5 และ 5 นาที ตามลำดับ การศึกษาการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพนี้ใช้น้ำมันปาล์มเป็นแหล่งคาร์บอน และ น้ำนึ่งปลาหรือสารอาหารแร่ธาตุ (mineral medium) เป็นสารอาหารเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตของ Pseudomonas aeruginosa SP 4 อิทธิพลของสารอาหาร ปริมาณน้ำหนักของน้ำมัน และเวลาวัฏจักร ที่มีผลต่อการลดลงของแรงตึงผิว และการย่อยสลายซีโอดีและน้ำมัน ได้ถูกศึกษา จากการเปรียบเทียบสารอาหารที่ใช้สำหรับปริมาณน้ำหนักของน้ำมัน 2 กก./ม3 วัน พบว่า สารอาหารแร่ธาตุมีประสิทธิภาพในการลดแรงตึงผิวที่สุด ในการใช้สารอาหารแร่ธาตุที่ปริมาณน้ำหนักของน้ำมันที่แตกต่างกัน พบว่า การเติมปริมาณน้ำหนักของน้ำมัน 2 กก./ม3 วัน มีประสิทธิภาพในการลดค่าแรงตึงผิวได้ต่ำที่สุดถึง 28.1 มิลลินิวตันต่อเมตร ซึ่งสอดคล้องกับการย่อยสลายซีโอดี 88% และการย่อยสลายน้ำมัน 94% จากการศึกษาค่าแรงตึงผิวระหว่างการให้อากาศในระยะเวลา 1 วัฏจัร พบว่า ได้รับค่าแรงตึงผิวต่ำสุดที่ช่วงระยะเวลาให้อากาศ 6-10 ชั่วโมง การเปรียบเทียบการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่เวลาวัฏจักร 1 และ 3 วัน ภายใต้ปริมาณความเข้มข้นของน้ำมันที่เท่ากัน (0.6% w/v) พบว่า ได้รับเปอร์เซ็นต์การลดลงของแรงตึงผิวสูงสุด 58% ที่เวลาวัฏจักร 1 วัน-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleBiosurfactant production from pseudomonas aeruginosa SP 4 using sequencing batch reactorsen_US
dc.title.alternativeการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจากจุลินทรีย์ Pseudomonas aeruginosa SP 4 โดยใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบกะต่อเนื่องen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePetrochemical Technologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasiwan_Ma_front.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwan_Ma_ch1.pdf853.37 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwan_Ma_ch2.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwan_Ma_ch3.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwan_Ma_ch4.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwan_Ma_ch5.pdf823.09 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwan_Ma_back.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.