Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42621
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKittinan Komolpisen_US
dc.contributor.advisorTanapat Palagaen_US
dc.contributor.authorJaiya Sathitsemakulen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Scienceen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:04Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:04Z
dc.date.issued2013en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42621
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractLeptospirosis is a widespread zoonotic disease in tropical areas caused by pathogenic gram-negative spirochetes Leptospira spp., which affect both human and animals. The disease is transmitted by contacting urine of the infected animals. Leptospira penetrates through mucosa or open wound skin of infected individuals. Symptoms of leptospirosis are extremely broad such as flu-like illness, headache. If patients are not diagnosed or treated in time, symptoms can become severe sepsis with multi-organ failure. This study aimed to generate monoclonal antibodies (MAbs) against pathogenic Leptospira spp. that can be used in a development of immunological based assay for early diagnosis of leptospirosis. Mice were immunized with whole cells of fixed or mixed of fixed and sonicated form of Leptospira interrogans serovar Manilae and the mutant M1352. After the conventional cell hybridization technique, all MAbs were screened by enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) with sonicated cell lysates of various serovars of Leptospira and other bacteria as antigen. The results showed that 14 clones of MAbs were obtained in this study could be divided into 6 groups based on the specificity against bacteria that were tested. MAbs group 1, 2, 3 and 4 were specific to some serovars of pathogenic Leptospira spp. MAbs group 5 and 6 were specific to various serovars of pathogenic leptospires, and also shown cross reactivity with Enterobacter aerogenes. These MAbs could detect L. interrogans serovar Manilae with the half maximal effective concentration (EC50) in the concentration range of 2×106 to 1×107 cells/ml and the limit of detection (LOD) was in the concentration range of 4.7×105 to 3.5×105 cells/ml. All 14 MAbs were isotyped as IgM. By Western blotting, there were some of the obtained MAbs recognizing the protein-like antigen of L. interrogans serovar Manilae with the molecular weight of 41 kDa. Therefore, these preliminary studies indicated that some of the obtained MAbs could be used for application in an immunological detection of pathogenic Leptospira spp.en_US
dc.description.abstractalternativeโรคฉี่หนูเป็นโรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คนที่แพร่กระจายในพื้นที่เขตร้อน มีสาเหตุมาจากแบคทีเรียแกรมลบสายพันธุ์เลปโตสไปราชนิดก่อโรค ซึ่งมีผลต่อทั้งมนุษย์และสัตว์ โรคนี้เกิดได้จากการสัมผัสถูกปัสสาวะของสัตว์ติดเชื้อ โดยเชื้อจะเข้าสู่ผู้ป่วยผ่านทางบริเวณเยื่อเมือก หรือปากแผลเปิดบริเวณผิวหนัง อาการของโรคฉี่หนูมีหลากหลาย อาทิเช่น อาการคล้ายไข้หวัด ปวดศีรษะ เป็นต้น หากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยและรักษาที่ไม่ทันการณ์ อาจเกิดภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดที่รุนแรง และเกิดภาวะอวัยวะภายในต่างๆ ล้มเหลว วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ คือ การผลิตมอโนโคลนอลแอนติบอดีต่อเชื้อเลปโตสไปราสายพันธุ์ก่อโรค เพื่อใช้ในการพัฒนาวิธีวินิจฉัยโรคฉี่หนูเบื้องต้นทางภูมิคุ้มกันวิทยา โดยทำการฉีดกระตุ้นหนูไมซ์ด้วยเชื้อ Leptospira interrogans ซีโรวาร์ Manilae และสายพันธุ์กลาย M1352 ในรูปคงสภาพ และรูปผสมระหว่างคงสภาพกับเสียสภาพ หลังจากสร้างเซลล์ลูกผสมด้วยวิธีหลอมรวมเซลล์ และคัดเลือกมอโนโคลนอลแอนติบอดีที่ผลิตได้ ด้วยวิธี enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) โดยใช้เชื้อเลปโตสไปราซีโรวาร์ต่างๆ และแบคทีเรียอื่นๆ ที่ถูกทำให้อยู่ในรูปเสียสภาพเป็นแอนติเจนคัดเลือก ผลการทดลองพบว่า ได้มอโนโคลนอลแอนติบอดี 14 โคลนที่สามารถจำแนกได้เป็น 6 กลุ่มตามความจำเพาะต่อแบคทีเรียที่ใช้ทดสอบ มอโนโคลนอลแอนติบอดีกลุ่มที่ 1, 2, 3 และ 4 มีความจำเพาะต่อเลปโตสไปราสายพันธุ์ก่อโรคเพียงบางสายพันธุ์ที่นำมาทดสอบ มอโนโคลนอลแอนติบอดีกลุ่มที่ 5 และ 6 มีความจำเพาะต่อเลปโตสไปราสายพันธุ์ก่อโรคที่นำมาทดสอบที่หลากหลายกว่าสี่กลุ่มแรก แต่แสดงปฏิกิริยาข้ามกับ Enterobacter aerogenes มอโนโคลนอลแอนติบอดีเหล่านี้มีความสามารถในการตรวจหา L. interrogans ซีโรวาร์ Manilae โดยมีค่าความเข้มข้นของเชื้อที่ทำให้ค่าการดูดกลืนแสงเปลี่ยนแปลงไปครึ่งหนึ่ง (Half maximal effective concentration; EC50) อยู่ในช่วงพิสัย 2×106 ถึง 1×107 เซลล์ต่อมิลลิลิตร และค่าความเข้มข้นของเชื้อที่น้อยที่สุดที่แอนติบอดีตรวจจับได้ (Limit of detection; LOD) ของแต่ละโคลนอยู่ในช่วงพิสัย 4.7×105 ถึง 3.5×105 เซลล์ต่อมิลลิลิตร มอโนโคลนอลแอนติบอดีทั้ง 14 โคลนมีไอโซไทป์เป็น IgM และจากการตรวจจับด้วยวิธี Western blot มีมอโนโคลนอลแอนติบอดีที่จำเพาะต่อโมเลกุลคล้ายโปรตีนของ L. interrogans ซีโรวาร์ Manilae ที่น้ำหนักโมเลกุล 41 กิโลดาลตัน ดังนั้น จากการศึกษาเบื้องต้นดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า มอโนโคลนอลแอนติบอดีที่ผลิตได้เหล่านี้ บางโคลนมีศักยภาพพอในการนำไปประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบทางภูมิคุ้มกันวิทยา สำหรับการตรวจเชื้อเลปโตสไปราสายพันธุ์ก่อโรคนี้ต่อไปได้en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.97-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectLeptospirosis
dc.subjectImmunity
dc.subjectMonoclonal antibodies
dc.subjectเลปโตสไปโรซิส
dc.subjectภูมิคุ้มกัน
dc.subjectโมโนโคลนอลแอนติบอดีย์
dc.titlePRODUCTION AND CHARACTERIZATION OF MONOCLONAL ANTIBODY AGAINST PATHOGENIC Leptospira spp.en_US
dc.title.alternativeการผลิตและลักษณะสมบัติของมอโนโคลนอลแอนติบอดีต่อเชื้อก่อโรค Leptospira spp.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineBiotechnologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorkittinan.k@chula.ac.then_US
dc.email.advisortanapat.p@chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.97-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5372504523.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.