Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42628
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรรณิการ์ นลราชสุวัจน์en_US
dc.contributor.authorรัตนกร รัตนชีวรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:06Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:06Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42628
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเพื่อยืนยันความเป็นตัวตนของชายรักชายต่อความรู้สึกด้อยค่าจากการรักเพศเดียวกัน โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบกึ่งทดลองที่มีกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยทดสอบคะแนนความรู้สึกด้อยค่าจากการรักเพศเดียวกันช่วงก่อนและหลังการทดลอง ผู้ร่วมการวิจัยคือชายรักชายที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำนวน 32 คน มีอายุเฉลี่ย 26.84 ปี (SD = 4.96) ผ่านทางการรับสมัครในเว็บบอร์ดและสมาคมเฉพาะกลุ่มตามความสมัครใจ โดยถูกแบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 2 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คนโดยการสุ่ม ระยะเวลาในการดำเนินกลุ่มรวมประมาณ 12 ชั่วโมง ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนความรู้สึกด้อยค่าจากการรักเพศเดียวกันของชายรักชายในกลุ่มทดลองช่วงหลังการทดลองต่ำกว่าคะแนนในช่วงก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) 2. คะแนนความรู้สึกด้อยค่าจากการรักเพศเดียวกันของชายรักชายในกลุ่มทดลองต่ำกว่าคะแนนของชายรักชายในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) ในช่วงหลังการทดลองen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to examine the effectiveness of gay-affirmative counseling group on Internalized Homophobia (IH) of Thai gay men. The pretest-posttest control group experimental design was employed. Participants were 32 Thai gay men (mean age = 26.84, SD = 4.96). They were recruited from a specific gay web board and community-based organization and randomly assigned into 2 experimental groups and 2 control groups of 8 people. The duration of group participation was about 12 hours in total. Instruments were the gay-affirmative counseling group and the IH questionnaire. Findings revealed: 1. IH scores of the gay men in the experimental group were significantly lower (p < .01) at posttest when compared to those at the pretest. 2. IH scores of the gay men in the experimental group were significantly lower than those in the control group (p < .05) after the group counseling participation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.112-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเกย์
dc.subjectจิตวิทยาการปรึกษา
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม
dc.subjectการเบี่ยงเบนทางเพศ
dc.subjectความแตกต่างทางเพศ (จิตวิทยา)
dc.subjectGays
dc.subjectCounseling psychology
dc.subjectGroup counseling
dc.subjectParaphilias
dc.subjectSex differences (Psychology)
dc.titleผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเพื่อยืนยันความเป็นตัวตนของชายรักชายต่อความรู้สึกด้อยค่าจากการรักเพศเดียวกันของชายรักชายen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF THE GAY AFFIRMATIVE COUNSELING GROUP ON INTERNALIZED HOMOPHOBIA OF HOMOSEXUAL MENen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKannikar.N@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.112-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5378329138.pdf4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.