Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42762
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรุณี หงษ์ศิริวัฒน์en_US
dc.contributor.advisorปทีป เมธาคุณวุฒิen_US
dc.contributor.authorนฤมล จันทร์สุขen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:21:05Z
dc.date.available2015-06-24T06:21:05Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42762
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ตามแนวคิดของนักวิชาการทั้งในและต่างประเทศ 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันในการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยพยาบาล 3) นำเสนอรูปแบบและกลยุทธ์การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยพยาบาล เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ 1) ผู้บริหารและอาจารย์วิทยาลัยพยาบาล จำนวน 312 คน 2) ผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาล จำนวน 15 คน 3) ผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาร่างรูปแบบการพัฒนาการเป็นองค์แห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยพยาบาล จำนวน 20 คน 4) ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบรูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์แห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยพยาบาล จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามผู้คุณวุฒิด้วยเทคนิค EDFR แบบประเมินความเหมาะสมของ (ร่าง) รูปแบบและกลยุทธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์สาระ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเทคนิคการวิจัยแบบ EDFR ผลการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ตามแนวคิดของนักวิชาการทั้งในและต่างประเทศประกอบด้วย 5 ด้านได้แก่ พลวัตการเรียนรู้ องค์การ บุคคล ความรู้และเทคโนโลยี 2. สภาพปัจจุบันของการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยพยาบาลโดยภาพรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก 3. รูปแบบการพัฒนาการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยพยาบาลประกอบด้วยการพัฒนา 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านพลวัตการเรียนรู้ มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ในระดับบุคคล ทีมและองค์การ 2) ด้านองค์การ มุ่งเน้นการพัฒนากลยุทธ์ วิสัยทัศน์ โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ 3) ด้านบุคคล มุ่งเน้นการเพิ่มอำนาจให้กับบุคคลและการทำงานเป็นทีมและเครือข่าย 4) ด้านความรู้ มุ่งเน้นการจัดการความรู้ และ5) ด้านเทคโนโลยี มุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้และเพื่อการเพิ่มพูนความรู้ 4. กลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยพยาบาลประกอบด้วย10 กลยุทธ์หลัก 36 กลยุทธ์รอง 38 โครงการและ 48 แนวปฏิบัติen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were : 1) to study the characteristics of learning organization based on the concepts of scholars in domestic and foreign institutes ; 2) to explore current problems for developing learning organization and 3) to develop a model and strategies for learning organization of Nursing Colleges. The data have been collected from the following sample groups : 1) Administrators and instructors of Nursing Colleges (total of 312); 2) Directors of Nursing Colleges (total of 15); 3) Senior experts who provided data on the development of (draft) for developing learning organization of Nursing Colleges (total of 20) and 4) Senior experts who validated a (draft) model and strategies (total of 6). Research instrument were : document analysis forms, questionnaire, interview, forms for interviewing experts based on Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR), forms for the validation of (draft) model and strategies suitability. The data analysis was conducted by means of content analysis, frequency, percentage ,means, and standard deviation and EDFR. Research results were : 1.The characteristics of learning organization based on the concepts of scholars in domestic and foreign institutes were dynamic of learning, organization, people, knowledge and technology. 2.The current conditions of Nursing Colleges under the learning organizational concept in the overall and each aspects were at high level. 3.The development model consists of 5 aspects: 1) dynamic of learning (to focus on individual learning, team learning and organizational learning); 2) organization (to focus on strategies, vision, structure and organization culture); 3) people (to focus on people empowerment, teamwork and network); 4) knowledge (to focus on knowledge management) and 5) technology (to focus on technology for knowledge management and learning) 4.The strategies for learning organization of Nursing Colleges of 10 primary Strategies, 36 secondary strategies, 38 projects and 48 guidelines.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.235-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้
dc.subjectการพัฒนาองค์การ
dc.subjectการเรียนรู้องค์การ
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิต
dc.subjectKnowledge management
dc.subjectOrganizational change
dc.subjectOrganizational learning
dc.titleรูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนาการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยพยาบาลen_US
dc.title.alternativeA MODEL AND STRATEGIES FOR DEVELOPING LEARNING ORGANIZATION OF NURSING COLLEGESen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorArunee.Ho@chula.ac.then_US
dc.email.advisorkate.arunee@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.235-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5184478727.pdf6.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.