Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42808
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณทิพา ศักดิ์ทองen_US
dc.contributor.authorวารี จตุรภัทรพงศ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:21:34Z
dc.date.available2015-06-24T06:21:34Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42808
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดการด้านยา ในแง่ผลลัพธ์ทางคลินิก ได้แก่ ผลการควบคุมระดับน้าตาลในเลือด ความดันโลหิต ไขมันในเลือด ปัญหาจากการใช้ยา และ ผลลัพธ์ทางด้านความเป็นมนุษย์ ได้แก่ คุณภาพชีวิตทางด้านสุขภาพ และคุณภาพชีวิตจากการใช้ ยา การวิจัยทางคลินิกรูปแบบกึ่งทดลอง เปรียบเทียบผลลัพธ์ก่อนและหลังได้รับการจัดการด้านยา โดยไม่มีกลุ่มควบคุม เก็บข้อมูลและติดตามผล ณ โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล ระหว่างเดือนพฤษภาคม 2555 ถึงตุลาคม 2556 ผู้ป่วยนอกโรคเบาหวานจานวนทั้งสิ้น 126 คนที่ ไม่เคยพบเภสัชกรประจาคลินิกการจัดการด้านยา (Medication Therapy Management Clinic) ได้รับการดูแลตามกระบวนการจานวน 2 ครั้งติดต่อกัน ห่างกันครั้งละ 1-3 เดือน ประเมิน และเก็บข้อมูล เดือนที่ 0, 3 และ 6 จากฐานข้อมูลผู้ป่วยนอกและสัมภาษณ์ผู้ป่วยเพื่อตอบ แบบสอบถามก่อนและหลังได้รับการจัดการด้านยา ประเมินคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพโดยวิธี มาตรฐานด้วยแบบวัดคุณภาพชีวิตทั่วไป EuroQoL (EQ-5D) และแบบวัดคุณภาพชีวิตเฉพาะ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน Diabetes-39 (D-39) และประเมินคุณภาพชีวิตจากการใช้ยาโดยวิธีวัดแบบ รายบุคคลด้วยการดัดแปลงเครื่องมือ Patient Generated Index (PGI) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ เชิงพรรณนา และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้า ( repeated measures ANOVA) ผล การศึกษาพบว่า การจัดการด้านยาโดยเภสัชกรสามารถช่วยให้ผู้ป่วยเบาหวานมีค่าผลลัพธ์ทาง คลินิกที่ดีขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยระดับน้าตาลในเลือดหลังอดอาหารลดลง 7.9 มก./ดล. (p=0.022) ค่าน้าตาลเฉลี่ยสะสมลดลงร้อยละ 0.3 (p=0.005) ค่าเฉลี่ยความดันโลหิตซิสโตลิกลด ลง 5 มม.ปรอท (p=0.003) ระดับแอลดีแอลคอเลสเตอรอลลดลง 10 มก./ดล. (p=0.001) ผู้ป่วย มีจานวนปัญหาจากการใช้ยาเฉลี่ยต่อคนลดลงจาก 2 ปัญหา เหลือ 0.9 ปัญหา ( p<0.001) และ คะแนนคุณภาพชีวิตทางด้านสุขภาพเมื่อประเมินด้วย EQ-5D และ D-39 และคุณภาพชีวิตจาก การใช้ยาเมื่อประเมินโดยวิธี PGI ดีขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to evaluate the impact of Medication Therapy Management (MTM) on clinical outcomes, including glycemic control, blood pressure, lipid profile, drug therapy problems and humanistic outcomes which include health-related quality of life and medication-therapy-related quality of life. A quasi-experimental pre- and post-test research design was conducted with enrollment and follow-up at Bumrungrad International hospital between May 2012 and October 2013. One hundred and twenty six eligible MTMnaive outpatients with type 2 diabetes were referred to the MTM process for 2 consecutive visits each 1-3 month(s) apart. Data were collected and assessed at 0, 3 and 6 months (pre- and post-intervention) from computer-based patient profiles and the questionnaires administered by interview. Health-related quality of life was assessed by standard approach with EuroQoL (EQ-5D) and Diabetes-39 (D-39). Medication-therapy-related quality of life was assessed by individualized approach with an adapted version of Patient Generated Index (PGI). Descriptive statistics and repeated measures ANOVA were used in data analysis. The analysis found a significant improvement of clinical outcomes. Patients receiving the second MTM had a lowered level by 7.9 mg/dL of fasting plasma glucose (p=0.022), 0.3 percent of glycated hemoglobin (p=0.005), 5 mmHg of systolic blood pressure (p=0.003) and 10 mg/dL of LDL cholesterol (p=0.001). There was a significant reduction in the number of drug therapy problems which is from 2 to 0.9 (p<0.001). The scores of both health-related quality of life assessed by EQ-5D and D-3 9, and medication-therapy-related quality of life assessed by PGI were significantly improved.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.280-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเภสัชกรกับผู้ป่วย
dc.subjectคุณภาพชีวิต
dc.subjectPharmacist and patient
dc.subjectQuality of life
dc.titleผลลัพธ์ของการจัดการด้านยาในผู้ป่วยนอกโรคเบาหวานen_US
dc.title.alternativeOUTCOMES OF MEDICATION THERAPY MANAGEMENT IN DIABETIC OUTPATIENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเภสัชกรรมคลินิกen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPhantipa.S@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.280-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5376560333.pdf16.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.