Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์รำไพ เปรมสมิทธ์en_US
dc.contributor.authorณัฐฐา เกิดมณีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:22:45Z
dc.date.available2015-06-24T06:22:45Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42947
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้เรื่องห้องสมุดสีเขียวของบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยในด้านแหล่งสารนิเทศที่ได้รับความรู้ เนื้อหาเรื่องห้องสมุดสีเขียวที่รับรู้ การนำเนื้อหาไปใช้และปัญหาในการรับรู้เรื่องห้องสมุดสีเขียว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบรรณารักษ์และบุคลากรวิชาชีพอื่นๆที่ปฏิบัติงานในห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่มีการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวจำนวน 7 แห่ง รวมทั้งสิ้น 220 คน ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาจำนวน 183 ชุด (ร้อยละ 83.18) ผลการวิจัยพบว่าบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่รับรู้เรื่องห้องสมุดสีเขียวจากแหล่งบนอินเทอร์เน็ต เนื้อหาเรื่องห้องสมุดสีเขียวที่บรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยรับรู้คือเรื่องอาคารห้องสมุด บรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่นำเรื่องการประหยัดพลังงานไปใช้ในระดับมาก และปัญหาในการรับรู้เรื่องห้องสมุดสีเขียว พบว่า บรรณารักษ์ประสบปัญหาในระดับปานกลาง และระดับน้อย โดยปัญหาที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ผู้เชี่ยวชาญมีจำนวนน้อยen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to investigate the university librarians' perception on green library, in terms of, sources, contents, utilization of content, and related problems. This study was a survey research, using questionnaire as a tool to collect data from librarians and library staff in 7 university libraries in which green library were operated. From total 220 questionnaires, 183 were returned (83.18%). Findings from this research are as follow: most librarians learn about the green library from Internet source. The content perceived by most librarians is "library building". The majority of librarians utilize the energy saving content at high level. Problem faced by university librarians are at moderate and low level. The problem having the highest mean score is there are not many experts on "green library".en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.420-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectห้องสมุดสิ่งแวดล้อม
dc.subjectการรับรู้
dc.subjectEnvironmental libraries
dc.subjectPerception
dc.titleการรับรู้เรื่องห้องสมุดสีเขียวของบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeUNIVERSITY LIBRARIANS' PERCEPTION ON GREEN LIBRARYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPimrumpai.P@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.420-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5480133722.pdf7.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.