Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุภาพ สมบูรณ์สวัสดีen_US
dc.contributor.authorวราพร ลิ่มชูเชื้อen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:24:12Z
dc.date.available2015-06-24T06:24:12Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43117
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบวิธีการใส่ค่าสูญหายในตัวแปรตามและตัวแปรอิสระที่มีการสูญหายแบบนอนอิกนอร์เรเบิลสำหรับการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ เมื่ออัตราส่วนการสูญหายของตัวแปรตาม ต่อ การสูญหายของตัวแปรอิสระต่างกัน โดยมีวิธีการใส่ค่าสูญหายที่ใช้ในงานวิจัยนี้ คือ วิธี EM Algorithm, วิธี K-Nearest Neighbor Imputation (KNN) และวิธี Predictive Mean Matching Imputation(PMM) ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้จากการจำลองข้อมูล โดยมีสัดส่วนการสูญหายของข้อมูล 3 ระดับ คือ 10%, 15% และ 20% มีระดับการสูญหายแบบนอนอิกนอร์เรเบิล 3 ระดับ คือ ไม่มี, ปานกลาง และสูง และมีอัตราส่วนของสัดส่วนการสูญหายของตัวแปรตาม ต่อ สัดส่วนการสูญหายของตัวแปรอิสระ คือ 1:1, 1:1.5, 1:2, 1.5:1 และ 2:1 จากการเปรียบเทียบแต่ละวิธีการโดยใช้ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองระหว่างค่าจริงกับค่าพยากรณ์ (Average mean square error: AMSE) พบว่า i)วิธีการใส่ค่าสูญหายทุกวิธีมีประสิทธิภาพดีกว่าเมื่อสัดส่วนการสูญหายของตัวแปรตามมีค่ามากกว่าสัดส่วนการสูญหายของตัวแปรอิสระ ii)วิธี EM Algorithm มีประสิทธิภาพดีที่สุด เมื่อเกิดการการสูญหายในตัวแปรอิสระที่มีค่าความค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำในทุกกรณี iii)ส่วนใหญ่วิธี K-Nearest Neighbor Imputation(KNN) มีประสิทธิภาพดีที่สุด เมื่อค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าความคลาดเคลื่อนสูง(90) และระดับการสูญหายแบบนอนอิกนอร์เรเบิลปานกลางและสูง iv)วิธี Predictive Mean Matching Imputation(PMM) มีประสิทธิภาพดีที่สุด เมื่อค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าความคลาดเคลื่อนไม่สูง(10,30) และไม่มีระดับการสูญหายแบบนอนอิกนอร์เรเบิล .en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to compare the imputation methods for multiple linear regression model that the dependent and independent variables are under nonignorable-missingness. The imputation methods are EM Algorithm, K-Nearest Neighbor Imputation (KNN) and Predictive Mean Matching Imputation (PMM). The data are simulated under three levels of missing proportion of data of 10 % , 15% and 20 %, three levels of nonignorable-missingness of none, medium and high, and levels of the ratio of missing proportion of the dependent and independent variables of 1:1, 1:1.5, 1.5:1, 1:2 and 2:1. The comparison of each imputation methods using the size of average mean squared error (AMSE), the findings are the followings: i) all of the imputation methods perform better when the missing proportion of the dependent variable are larger than proportional loss of independent variables, ii) EM Algorithm perform best when the missingness appears on independent variables with low standard deviation, iii) K-Nearest Neighbor Imputation (KNN) perform best when the standard deviation of the errors are high (90) and the levels of nonignorable-missingness are medium and high, iv) Predictive Mean Matching Imputation (PMM) perform best when the standard deviation the errors are not high (10,30) and the levels of nonignorable-missingness is none.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.582-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectข้อมูลสูญหาย (สถิติ)
dc.subjectการวิเคราะห์การถดถอย
dc.subjectMissing observations (Statistics)
dc.subjectRegression analysis
dc.titleการเปรียบเทียบวิธีการใส่ค่าสูญหาย ในตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นพหุ เมื่อร้อยละการสูญหายของตัวแปรตามและตัวแปรอิสระต่างกัน สำหรับการสูญหายแบบนอนอิกนอร์เรเบิลen_US
dc.title.alternativeCOMPARISON OF THE IMPUTATION METHODS IN THE MULTIPLE LINEAR REGRESSION MODEL WHEN PERCENTAGES OF MISSING DEPENDENT AND INDEPENDENT VARIABLES ARE DIFFERENT UNDER NONIGNORABLE – MISSINGNESSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถิติen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoranupap@cbs.chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.582-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5581600726.pdf9.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.