Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประกอบ กรณีกิจen_US
dc.contributor.authorจิรภา อรรถพรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:24:25Z
dc.date.available2015-06-24T06:24:25Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43141
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบฯ 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบฯ และ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบฯ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการพัฒนารูปแบบ คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 17 คน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาหรือการเรียนการสอนออนไลน์ 10 คน และด้านการการสอนเชิงรุก 7 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง คือ นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ แบบประเมินรูปแบบ เว็บไซต์การเรียนการสอนเชิงรุกแผนการจัดการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์ประเมินคุณภาพผลงานของผู้เรียนแบบรูบริค แบบสอบถามความคิดเห็นในการเรียนด้วยรูปแบบการสอนเชิงรุกออนไลน์ฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลค่าความแปรปรวนแบบทางเดียวเมื่อมีการวัดซ้ำ (One-way Repeated Measure ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบฯ ที่พัฒนาขึ้น มี 9 องค์ประกอบ คือ 1) บทบาทผู้สอน 2) บทบาทผู้เรียน 3) ระบบจัดการเรียนรู้ 4) เนื้อหาของบทเรียน 5) การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 6) การติดต่อสื่อสารผ่านเทคโนโลยี 7) กระบวนการส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้ 8) การสะท้อนการเรียนรู้ของผู้เรียน และ 9) การวัดและประเมินผล โดยมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นศึกษาค้นคว้า 2) ขั้นเชื่อมโยงปัญหา 3) ขั้นระดมสมอง 4) ขั้นสังเกตการณ์ และ 5) ขั้นสะท้อนคิด ผลการทดลองใช้รูปแบบการสอนเชิงรุกออนไลน์เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้ของนิสิตปริญญาบัณฑิต พบว่า พฤติกรรมการเรียนรู้ของกลุ่มตัวอย่างสูงขึ้นในแต่ละสัปดาห์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop an active online instructional model to modify learning behavior of undergraduate students; (2) to try out active online instructional model to modify learning behavior of undergraduate students; and (3) to propose active online instructional model to modify learning behavior of undergraduate students. The subjects in model development consisted of seventeen experts including 10 online instructional experts and 7 active instructional experts. The subjects in model experiment are 30 students from the undergraduate students. The research instruments consisted of an expert interview form, a model evaluation form, an active instructional website and a lesson plan. The data gathering instruments consisted of a student’s learning behavior observation form, a student’s work scoring rubric, and student’s satisfaction towards the model test questionnaire. The data were analyzed by using mean, standard deviation and One-way Repeated Measure ANOVA. The research results indicated that: The developed model consisted of nine components as follows: 1) Teacher Roles; 2) Student Roles 3) a Learning Management System; 4) Content; 5) Student-centered Teaching; 6) Communication Technology; 7) Behavior Enhance Process; 8) Learning Reflection; and 7) Measurement and Evaluation. The active online instructional model to enhance learning behavior of undergraduate students contained five steps as follows: 1) Action; 2) Transfer; 3) Brainstorming; 4) Observation; and 5) Reflection. The experimental result indicated that the learning behavioral of subjects were increased at .05 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.612-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอน
dc.subjectการเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
dc.subjectพฤติกรรมการเรียน
dc.subjectActivity programs in education
dc.subjectLearning behavior
dc.titleการพัฒนารูปแบบการสอนเชิงรุกออนไลน์เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้ของนิสิตปริญญาบัณฑิตen_US
dc.title.alternativeDEVELOPMENT OF AN ACTIVE ONLINE INSTRUCTIONAL MODEL TO ENHANCE LEARNING BEHAVIORS OF UNDERGRADUATE STUDENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoronlineteacher2005@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.612-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5583371327.pdf6.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.