Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43580
Title: EFFECTS OF FREE INTERVENTIONS ON THE UTILIZATION OF ANTI-MALARIA SERVICES IN NIGER STATE, NIGERIA. 2010-2013
Other Titles: ผลกระทบของกระบวนการวินิจฉัยรักษาที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย ต่อการใช้บริการต้านมาลาเรียในรัฐไนเจอร์ ประเทศไนจีเรีย ค.ศ. 2010-2013
Authors: Kolo Yaro Yakubu
Advisors: Nopphol Witvorapong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Economics
Advisor's Email: Nopphol.W@Chula.ac.th
Subjects: Malaria
Public health
Medicine, Preventive
มาลาเรีย
อนามัยชุมชน
โรค -- การป้องกันและควบคุม
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This quantitative study using panel data evaluated the effectiveness of free interventions on utilization of anti-malaria services in Niger State, Nigeria. The analysis was done at health facility levels and the unit of analysis was facility-month. Health facilities were assigned into two groups; one group that received free anti-malaria interventions termed "treatment" group and those that did not receive treatment termed as “control” group. Across all four dependent variables, results of the difference-in-difference regression estimation shows a consistent trend that explains upward increases in utilization with a rise in the number of free interventions. For one of the dependent variables "overall utilization of anti-malaria services" there were increases in utilization by 12.6 cases for the third intervention (Parasite based diagnosis of malaria) alone. The increase was 27.9 cases for two free interventions (Case management of malaria and Prevention of malaria in pregnancy) implemented together and for the three free interventions together, the effects were even higher than when two were implemented together; utilization went up by 35.7 cases . This trend is same for the other three dependent variables.
Other Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการประเมินประสิทธิภาพของนโยบายสนับสนุนการใช้บริการต่อต้านมาลาเรียโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ในรัฐไนเจอร์ ประเทศไนจีเรีย ปี 2010-2013 โดยใช้ข้อมูลภาคตัดขวางตามช่วงเวลาจากศูนย์รักษาพยาบาล 150 แห่ง ในรัฐบาลท้องถิ่น 7 แห่ง รวมเป็นข้อมูลทั้งสิ้น 5,550 หน่วย ซึ่งข้อมูลแต่ละหน่วยแสดงถึงการให้บริการของศูนย์ รักษาพยาบาลในเดือนที่กำหนด การวิเคราะห์จึงทำในระดับศูนย์ให้บริการทางสุขภาพ นโยบายสนับสนุนการให้บริการต่อต้านมาลาเรียโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสามารถแบ่งออกเป็น 3 นโยบายย่อย คือ การจัดการโรค มาลาเรีย (Malaria Case Management: MCM) โดยการใช้ Artemisinin based Combination Therapies (ACTs) การ ป้องกันมาลาเรียในช่วงตั้งครรภ์ (Malaria in Pregnancies: MIP) โดยการใช้ Long Lasting Insecticidal bed Nets (LLINs) กับ Sulphadoxine/pyrimethamine (SPs) ซึ่งทั้ง 2 นโยบายข้างต้นเริ่มใช้พร้อมกันในช่วงเดือนสิงหาคม 2010 ถึงเดือนมิถุนายน 2012 และการทดสอบมาลาเรียแบบ Rapid Diagnostic Test kits (RDTs) ซึ่งเริ่มใช้ในเดือนกรกฎาคม 2012 และใช้ร่วมกับ 2 นโยบายแรก ศูนย์ให้รักษาพยาบาลถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนการให้บริการต่อต้านมาลาเรียโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่ายจากรัฐบาล ซึ่งกำหนดให้เป็นกลุ่มทดลอง (treatment group) และกลุ่มที่สองเป็นศูนย์รักษาพยาบาลที่ไม่ได้รับ การสนับสนุนการให้บริการต่อต้านมาลาเรียโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายจากรัฐบาล ซึ่งกำหนดให้เป็นกลุ่มควบคุม (control group) ทั้งนี้ วิธีการที่ใช้ในการประเมินคือ difference-in-difference โดยประกอบด้วยตัวแปรตาม 4 ตัวแปร ดังนี้ จำนวนการใช้บริการทาง สุขภาพโดยรวม จำนวนการใช้บริการการต่อต้านมาลาเรีย อัตราการใช้บริการทางสุขภาพโดยรวม และอัตราการใช้บริการการ ต่อต้านมาลาเรีย ผลการศึกษาของทั้งสี่ตัวแปรตามสอดคล้องกัน โดยพบว่า นโยบายสนับสนุนการใช้บริการต่อต้านมาลาเรียโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่ายจะเพิ่มอัตราการใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับร้อยละ 5 โดยไม่ขึ้นกับประเภทของนโยบาย ผลการศึกษาของ จำนวนการใช้บริการการต่อต้านมาลาเรียเป็นตัวแปรตาม พบว่า เมื่อมีการใช้นโยบายสองนโยบายแรก (MCM และ MIP) จะเพิ่ม จำนวนการใช้บริการ 27.9 ครั้ง ส่วนการใช้นโยบายทดสอบมาลาเรียจะเพิ่มจำนวนการใช้บริการ 12.6 ครั้ง ในขณะที่ ถ้าใช้ทั้งสาม นโยบายพร้อมกันจะทำให้จำนวนการใช้บริการเพิ่มขึ้น 35.7 ครั้ง โดยพบแนวโน้มดังกล่าวในตัวแปรตามอื่นๆ เช่นกัน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Health Economics and Health Care Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43580
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1023
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1023
Type: Thesis
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5685566929.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.