Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43774
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิทธิเดช พงศ์กิจวรสินen_US
dc.contributor.authorพณ รัชฎาภิบาลen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:44:42Z
dc.date.available2015-06-24T06:44:42Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43774
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิเคราะห์มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการทางด่วนพิเศษระบายน้ำ โดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์จากการดำเนินงานตลอดอายุโครงการ 30 ปี ในส่วนของต้นทุนโครงการ ประกอบด้วย 1)ต้นทุนจากการดำเนินการก่อสร้างและบำรุงรักษา สามารถคำนวณได้จาก ราคากลางค่าก่อสร้าง ระยะเวลาดำเนินการ 3 ปี คิดเป็นมูลค่าปีละ 7,562 ล้านบาทต่อปี 2)ต้นทุนค่าบำรุงรักษา คำนวณได้จากราคากลางค่าบำรุงรักษาทาง คิดเป็นมูลค่าปีละ 34 ล้านบาท 3)ค่าเวนคืนสิ่งปลูกสร้างและที่ดิน คำนวณได้จากราคาตลาดของสิ่งปลูกสร้างและที่ดิน รวมเป็นมูลค่า 32,927 ล้านบาท และ 4)ค่าชดเชยให้เจ้าของพื้นที่ คำนวณจากความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อหลีกเลี่ยงการโดนเวนคืน คิดเป็นต้นทุนของโครงการ มูลค่าปีละ 746 ล้านบาท ส่วนประโยชน์จากการดำเนินโครงการ ประกอบด้วย 1)ประโยชน์จากการป้องกันอุทกภัยระดับเป้าหมาย โดยคำนวณจากมูลค่าผลกระทบที่สามารถป้องกันได้ ซึ่งมีมูลค่าเทียบเท่าผลกระทบจากอุทกภัยในปี พ.ศ.2554 หรือเท่ากับ 1,178,579 ล้านบาท 2)ประโยชน์ทางจิตใจที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ คำนวณจากความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อสนับสนุนโครงการ คิดเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 126,729 ล้านบาท 3)ประโยชน์จากการใช้ถนน คำนวณจากต้นทุนในการขนส่งสินค้าที่ประหยัดได้ มูลค่าปีละ 348 ล้านบาท 4)ประโยชน์จากผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้น คำนวณจากผลิตภาพทางการเกษตร คิดเป็นมูลค่าปีละ 3,028 บาท ผลการศึกษาพบว่า กรณีที่เกิดอุทกภัยขึ้นในปีสุดท้ายของโครงการ มูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการ จะมีมูลค่าเท่ากับ 72,201.89 ล้านบาท อัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของผลประโยชน์ต่อค่าใช้จ่าย เท่ากับ 2.73 และอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ เท่ากับ ร้อยละ 16.89 แสดงให้เห็นว่าโครงการมีความเหมาะสมทางเศรษฐศาสตร์ในการดำเนินงาน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนของการจะไม่ส่งผลต่อผลตอบแทนของโครงการมากนัก โดยผลตอบแทนของโครงการจะได้รับผลกระทบมากก็ต่อเมื่อปีที่เกิดอุทกภัยระดับเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า การพิจารณาลงทุนในโครงการทางด่วนพิเศษระบายน้ำจึงขึ้นอยู่กับความถี่และช่วงเวลาที่จะเกิดอุทกภัยระดับเป้าหมายen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis valuates economic benefits and costs of implementing Super-express Floodway Project during 30 years. The costs of the project include 1) construction cost of 7,562 million baht per year during the first 3 years; 2) maintenance cost of 34 million baht per year; 3) expropriation cost of around 32,927 million baht; and 4) subsidiary cost for former landlords of 746 million baht per year. The benefits of the project is calculated from 1) benefit from flooding avoidance, which is estimated using damage value of 2011 massive flood at 1,178,579 million baht; 2) mental benefit of flood avoidance of 126,729 million baht; 3) reduced transportation cost as a result of new road, which is estimated to be at 348 million baht per year; and 4) an increase in agricultural product 3,028 million baht. With 12% discount rate, NPV of the project is calculated to be 72,201 million baht with B/C Ratio of 2.73, and internal rate of return (IRR) of 16.89. The findings show that the project is economically feasible and the feasibility holds even with a 20% increase in its costs. The value of the project depends on how frequent and when massive flood will happen.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1243-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectต้นทุนและประสิทธิผล
dc.subjectการบริหารโครงการ
dc.subjectมูลค่า (เศรษฐศาสตร์)
dc.subjectCost effectiveness
dc.subjectProject management
dc.subjectValue
dc.titleการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์โครงการป้องกันน้ำท่วมสำหรับลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง: กรณีศึกษาโครงการทางด่วนพิเศษระบายน้ำen_US
dc.title.alternativeAN ECONOMIC EVALUATION OF FLOOD PROTECTION PROJECT IN LOWER CHAO PHRAYA RIVER BASIN: A CASE STUDY OF SUPER-EXPRESS FLOODWAYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSittidaj.P@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1243-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5385167929.pdf10.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.