Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44164
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญญา ตุ้ยคำภีร์-
dc.contributor.advisorสักกพัฒน์ งามเอก-
dc.contributor.authorจิตราพร กิตติปัญจมาศ-
dc.contributor.authorบุญญวัฒน์ อินทร์นู-
dc.contributor.authorเบญจรัตน์ จิตรเอื้อกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-07-28T04:48:09Z-
dc.date.available2015-07-28T04:48:09Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.otherPsy 203-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44164-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเป็นองค์กรในฝันและพันธะสัญญาใจ ในนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีและพนักงาน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบรายสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ มาตรวัดการเป็นองค์กรในฝันมาตรวัดพันธะสัญญาใจซึ่งพัฒนาโดยกลุ่มนิสิตผู้วิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันการวิเคราะห์แบบถดถอย และการเปรียบเทียบค่าสถิติประมาณค่าจากสมการของ Cohen, Cohen, West และ Aiken (2003) ผลการวิจัยพบว่า 1.มีเพียงองค์ประกอบเดียวของการเป็นองค์กรในฝันที่สามารถร่วมกันทำนายความแปรปรวนของพันธะสัญญาใจในนิสิตนักศึกษาได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ สภาพแวดล้อมในการทำงาน (β =.41 p < .001) 2.มี 2 องค์ประกอบของการเป็นองค์กรในฝันที่สามารถร่วมกันทำนายความแปรปรวนของพันธะสัญญาใจในคนทำงานได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือสภาพแวดล้อมในการทำงาน และด้านผลตอบแทน/ผลประโยชน์/สวัสดิการ (β =.61, p < .001; β =.20, p < .05 ตามลำดับ) 3.อำนาจการทำนายของการเป็นองค์กรในฝันทั้ง 5 ด้านร่วมกันทำนายพันธะสัญญาใจของนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีและพนักงานได้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to examine employer of choice and psychological contract among undergraduate students and employees. Participants were selected conveniently. Instruments were Employer of Choice Scale and Psychological Contract Scale developed by the researchers. Data analyses using Pearson product moment correlation and multiple regression analysis of Cohen, Cohen, West and Aiken (2003) were conducted. The results showed as below. 1.Only one dimension of employer of choice (organizational climate) was significantly and positively correlated with psychological contract of undergraduate students (β =.41 p< .001) 2.Two dimensions of employer of choice (organizational climate and compensation/benefits/welfare) were significantly and positively correlated with psychological contract of employees (β =.61, p< .001;β =.20 p< .05 respectively) 3.There was no difference in predictive power of employer of choice on psychological contract between undergraduate students and employees. Subjecten_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectองค์การen_US
dc.subjectจิตวิทยาองค์การen_US
dc.subjectWork -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectAssociations, institutions, etc.en_US
dc.titleการเป็นองค์กรในฝันและพันธะสัญญาใจของนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีและพนักงานen_US
dc.title.alternativeEmployer of choice and psychological contract among undergraduate students and employeesen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorArunya.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jitraporn_ki.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.