Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอก ตั้งทรัพย์วัฒนาen_US
dc.contributor.authorเสกสรร โกศรีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:30:32Z
dc.date.available2015-08-21T09:30:32Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44625
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลวัตการก่อตัวของเส้นเขตแดนในรัฐไทยที่เริ่มจะมีความชัดเจนหลังเหตุการณ์ ร.ศ. 112 โดยมีคำถามสำคัญในการวิจัยเรื่องนี้คือหลังเหตุการณ์ ร.ศ. 112 ส่งผลให้พลวัตการก่อตัวของเส้นเขตแดนในรัฐไทยเริ่มจะมีความชัดเจนมากขึ้นตามองค์ประกอบของรัฐสมัยใหม่ที่รัฐจะต้องมีอาณาเขตและเส้นเขตแดนที่ชัดเจนแน่นอนจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด ผลการวิจัยพบว่า หลังเหตุการณ์ ร.ศ. 112 ส่งผลให้มีการยอมรับการก่อตัวของเส้นเขตแดนรัฐไทยที่เริ่มจะมีความชัดเจนมากขึ้นตามองค์ประกอบของรัฐสมัยใหม่ที่รัฐจะต้องมีอาณาเขตและเส้นเขตแดนที่ชัดเจนแน่นอน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งที่ส่งผลให้เกิดพลวัตการก่อตัวรัฐชาติสมัยใหม่ตามมาด้วย ดังนั้น เหตุการณ์ ร.ศ. 112 เป็นเหมือนเส้นเขตแดนเส้นสำคัญที่ช่วยก่อเกิดพลวัตการก่อตัวของเส้นเขตแดนที่เริ่มก่อตัวมาตั้งแต่อดีตเริ่มจะปรากฏชัดเจนมากขึ้นเหตุผลสำคัญเป็นเพราะเหตุการณ์ ร.ศ.112 ส่งผลกระทบต่ออำนาจของชนชั้นนำรัฐไทยโดยตรง ซึ่งมีสาเหตุมาจากรัฐไทยไม่มีเส้นเขตแดนที่ชัดเจนแน่นอนตามแนวคิดรัฐสมัยใหม่ ด้วยเหตุนี้ ชนชั้นนำรัฐไทยจึงไม่สามารถรักษาอำนาจและผลประโยชน์เหนือดินแดนทั้งหมดไว้ได้ ที่สำคัญหลังเหตุการณ์ ร.ศ. 112 เมื่อรัฐไทยสูญเสียอำนาจเหนือดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงให้กับฝรั่งเศสชนชั้นนำรัฐไทยมีความคิดว่าการสูญเสียอำนาจทางการปกครองเหนือดินแดนครั้งนี้เป็นการเสื่อมเสียเกียรติยศและอำนาจของชนชั้นนำอย่างยิ่ง ดังนั้น การจะรักษาเกียรติยศและอำนาจเหนือดินแดนในพระราชอาณาเขตไว้ต่อไปได้ รัฐจะต้องมีเส้นเขตแดนตามแนวคิดรัฐสมัยใหม่แบบตะวันตก พลวัตการก่อตัวของเส้นเขตแดนหลังเหตุการณ์ ร.ศ. 112 เป็นการก่อตัวที่เริ่มชัดเจนมากขึ้นตามแนวคิดรัฐสมัยใหม่และมีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องจวบจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the dynamics of the boundary line's formation in Thailand, which began to be clearer after the Franco - Siamese war. The key question of this study is the effect of Franco - Siamese War on Thailand's clearer boundary line, and then the clearer formation of the modern nation - state. The result showed that after the Franco - Siamese War, there was a clearer acknowledgement of Thailand's boundary line, and this played a part in the formation of Thailand as a modern nation-state. This was very important because defined territory is one of the crucial components of the modern nation-state. The Franco-Siamese War impacted Thailand's power directly. If Thailand in that time could not define its own boundary line, the Thai elite could not maintain their own sovereignty, power, and dignity over land. This was the main reason why the Thai elite wished to have a clear boundary line, especially when they lost the left bank of Mekong River to the French. The boundary line after the Franco - Siamese War has been dynamic, and has clearer developed, but this does not mean that this line has been completely unambiguous till presenten_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.769-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรัฐ
dc.subjectรัฐประชาชาติ
dc.subjectอาณาเขตของประเทศ -- ไทย
dc.subjectวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
dc.subjectอาณานิคม
dc.subjectไทย -- เขตแดน
dc.subjectState, The
dc.subjectNation-state
dc.subjectTerritory, National -- Thailand
dc.subjectFranco-Siamese War, 1893
dc.subjectColonies
dc.subjectThailand -- Boundaries
dc.titleรัฐไทยกับพลวัตการก่อตัวของเส้นเขตแดนตามแนวคิดรัฐสมัยใหม่หลังเหตุการณ์ ร.ศ.112en_US
dc.title.alternativeTHAI STATE AND THE DYNAMICS OF BOUNDARY LINE FORMATION ACCORDING TO THE CONCEPT OF MODERN STATE AFTER THE FRANCO - SIAMESE WARen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการเมืองและการจัดการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAke.T@Chula.ac.th,ake.tangsupvattana@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.769-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5581341124.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.