Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพรรณ นกสวน สวัสดี-
dc.contributor.authorบุรฉัตร พานธงรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-10T07:50:22Z-
dc.date.available2015-09-10T07:50:22Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45144-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่อง “การตลาดการเมืองของพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554” เป็นการศึกษาเพื่อตอบคำถามงานวิจัย 2 ประการคือ 1.ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งของพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์ 2.พรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์นำแนวคิดการตลาดการเมืองมาประยุกต์ใช้ ในกระบวนการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งอย่างไร งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อศึกษาและทำความเข้าใจ กลยุทธ์ที่พรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์นำมาใช้ในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ผ่านการนำแนวคิดและทฤษฏีเรื่องการตลาดการเมือง (Political Marketing) ของ Bruce I. Newman มาเป็นกรอบในการศึกษาหลัก ร่วมกับแนวคิดเรื่องการสื่อสารทางการเมือง (Political Communication) โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก(In-dept Interview) ประกอบกับการวิจัยเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งของพรรคเพื่อไทยและ พรรคประชาธิปัตย์ในการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 คือ เหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองที่ปรากฏขึ้นอย่างชัดเจนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนถึงปี พ.ศ. 2554 การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีการสื่อสาร อย่างไรก็ตามเนื่องจากพรรค เพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์มีแนวคิดและแนวทางการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน ส่ งผลให้กลยุทธ์การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งของพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์ภายใต้กรอบการตลาดการเมืองมีรูปแบบการนำเสนอและวิธีการดำเนินการที่แตกต่างกัน ซึ่งพรรคเพื่อไทยเลือกที่จะนำความสำเร็จทางนโยบายในรัฐบาลพรรคไทยรักไทยมาเป็นตัวสนับสนุนและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผลิตภัณฑ์ของพรรค ในขณะที่พรรคประชาธิปัตย์เลือกที่จะนำความเชื่อมั่นในตัวบุคคลคือนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มาเป็นตัวสนับสนุนและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผลิตภัณฑ์ของพรรคen_US
dc.description.abstractalternativeThe research aims to answer 2 questions: First, what factors influenced the election campaigns of the Pheu Thai and the Democrat parties. Second how the two parties applied the political marketing concept during the election campaign process. This qualitative research is expected to study and understand the strategies that the Pheu Thai and the Democrat parties used in the election campaigns by using the concept and theory of political marketing and political communication as a framework. The data was collected by in-depth interviews and documentary research. The study found that the major factors that affected the election campaigns of the Pheu Thai and the Democrat parties in the general election on July 3, 2011 were the political conflicts from 2005 to 2011, the structure shifts and the advancement of communication technology. However, since the two parties had different concepts and directions, the election campaign strategy, thus, was performed under political marketing framework that generated different presentation patterns and operating methods. The Pheu Thai party chose to promote past concrete policies successfully implemented under the Thai Rak Thai government as the mainstay to generate confidence in the party’s product. The Democrat party, meanwhile, chose to promote personal trust in Mr. Abhisit Vejjajiva to gain the major support for the party’s product.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1281-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพรรคเพื่อไทยen_US
dc.subjectพรรคประชาธิปัตย์en_US
dc.subjectการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง -- ไทยen_US
dc.subjectพรรคการเมือง -- ไทยen_US
dc.subjectการสื่อสารทางการเมือง -- ไทยen_US
dc.subjectการตลาดen_US
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การen_US
dc.subjectPheu Thai Partyen_US
dc.subjectDemocrat Partyen_US
dc.subjectPolitical campaigns -- Thailanden_US
dc.subjectPolitical parties -- Thailanden_US
dc.subjectCommunication in politics -- Thailanden_US
dc.subjectCorporate imageen_US
dc.subjectMarketingen_US
dc.titleการตลาดการเมืองของพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์ในการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2554en_US
dc.title.alternativePolitical marketing of Pheu Thai and Democrat Parties in the July 3, 2011 general electionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1281-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
burachat_ph.pdf5.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.