Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45824
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPongsak Luangaramen_US
dc.contributor.authorPiyakul Somsiriwongen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Economicsen_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:05:28Z-
dc.date.available2015-09-17T04:05:28Z-
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45824-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014en_US
dc.description.abstractThe purpose of this paper is to find various risk factors that affect currency carry trade return in interested groups of ASEAN+3 and G10 country during the period of 2001Q1 and 2014Q1. This study has two objectives. The first objective of this paper is to analyze the effects of exchange rate volatility on the carry trade return. The second objectives is to see whether yield curve level factors and yield curve slope factors affect carry trade return. This paper follows Clarida, Davis, and Pederson’s model in 2009. I find that carry return and exchange rate volatility are negatively related or this can be implied that return on carry trade strategy will be higher in low volatility environment. The results for the second objective show that yield curve level factors positively affect carry trade return while yield curve slopes factors are negatively correlated with carry return. Additionally, this study find that investing in the merged groups of ASEAN+3 and G10 yields better carry trade returns comparing to in separated group of only ASEAN+3 or G10.en_US
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลตอบแทนที่ได้รับจากธุรกรรมการกู้เงินเพื่อการเก็งกำไร (currency carry trade) ในกลุ่มประเทศอาเซียน+3 และ จี10 โดยจะศึกษาข้อมูลในช่วงไตรมาสแรกของปี 2544 ถึงไตรมาสแรกของปี 2557 วิทยานิพนธ์นี้มี 2 วัตถุประสงค์หลัก ได้แก่ การศึกษาผลกระทบของความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนต่อผลตอบแทนที่ได้รับจากธุรกรรมการกู้เงินเพื่อการเก็งกำไร และ การศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของผลตอบแทน(อัตราดอกเบี้ย)กับช่วงเวลาของการลงทุน (yield curve) ต่อผลตอบแทนที่ได้รับจากธุรกรรมการกู้เงินเพื่อการเก็งกำไร โดยวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จะอ้างอิงโมเดลของ Clarida, Davis, and Pederson (2009) ในการศึกษาผลกระทบที่กล่าวไว้ข้างต้น ผลการศึกษาพบว่า ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนแปรผกผันกับผลตอบแทนที่จะได้รับจากธุรกรรมการกู้เงินเพื่อการเก็งกำไร ในส่วนของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของผลตอบแทน(อัตราดอกเบี้ย)กับช่วงเวลาของการลงทุน พบว่า หากผลกระทบที่เกิดขึ้นส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นอย่างถาวร ผลตอบแทนจากธุรกรรมการกู้เงินเพื่อการเก็งกำไรจะเพิ่มขึ้น ในทางตรงข้าม หากผลกระทบที่เกิดขึ้นส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นเพียงชั่วคราวหรืออัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจากการคาดการอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้น ผลตอบแทนจากธุรกรรมการกู้เงินเพื่อการเก็งกำไรจะลดลง นอกจากนี้ยังพบว่า พอร์ตโฟลิโอของการลงทุนที่สามารถเลือกลงทุนในสกุลเงินของกลุ่มของประเทศอาเซียน+3 และจี10 รวมกัน จะให้ผลตอบแทนดีกว่าการแยกลงทุนโดยเลือกได้เพียงสกุลเงินในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleCURRENCY CARRY TRADE AND EXCHANGE RATE VOLATILITYEVIDENCE FROM ASEAN+3 and G10en_US
dc.title.alternativeธุรกรรมการกู้เงินเพื่อการเก็งกำไรและความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนหลักฐานจากกลุ่มประเทศอาเซียน+3 และจี 10en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineInternational Economics and Financeen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorPongsak.L@Chula.ac.th,pluangaram@gmail.com,pluangaram@gmail.comen_US
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5685608629.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.