Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประกอบ กรณีกิจen_US
dc.contributor.authorปาริฉัตร บุญต้อมen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:39:39Z
dc.date.available2015-09-19T03:39:39Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46473
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างการสะท้อนคิดของผู้เรียนและการให้ข้อมูลย้อนกลับของผู้สอนในการพัฒนาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อการสร้างสรรค์งานคอมพิวเตอร์กราฟิกของนักเรียน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จากการสุ่มอย่างง่าย จำนวนทั้งสิ้น 125 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์บน Google Sites คำถามนำสำหรับการสะท้อนคิด รูปแบบการให้ข้อมูลย้อนกลับ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบทั่วไป และรูปแบบชี้แนะเพื่อการปรับปรุง สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย เพื่ออธิบายข้อมูลทั่วไป วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลคะแนนของการสร้างสรรค์งานคอมพิวเตอร์กราฟิกของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 4 กลุ่ม และวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two-way ANOVA) เพื่อหาปฏิสัมพันธ์ระหว่างการสะท้อนคิดและการให้ข้อมูลย้อนกลับที่มีต่อการสร้างสรรค์งานคอมพิวเตอร์กราฟิก ผลการทดลองพบว่าไม่มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างการสะท้อนคิดของผู้เรียนและการให้ข้อมูลย้อนกลับของผู้สอนในการพัฒนาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อการสร้างสรรค์งานคอมพิวเตอร์กราฟิกของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was an interaction between learner reflection and teacher feedback in development electronic portfolio on student’s computer graphic The purpose of this research was an interaction between learner reflection and teacher feedback in electronic portfolio development on student’s computer graphic creation. We use Sample Random Sampling for 125 students in Mathayom 3, enroll in semester 2/2014 for experimental group. The research tool is electronic portfolio system on Google site. The leading question was reflection . We use two feedback style, General style and feedforward style, Firstly, we analyze data by Descriptive static for describe general data. Secondly, compare score of analyzed data with creativity computer graphic work from 4 groups of sample. Finally, we use Two-way ANOVA for interaction between learner reflection and teacher feedback to student’s computer graphic creation. The results indicated that no correlation between learner reflection and teacher feedback in electronic portfolio to development student’s computer graphic creation. This statistically significant is 0.05 indicated hence that not allowed the hypothesisen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1256-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแฟ้มผลงานทางการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์
dc.subjectผลสะท้อนกลับ (จิตวิทยา)
dc.subjectการเรียนรู้แบบพินิจพิเคราะห์
dc.subjectElectronic portfolios in education
dc.subjectFeedback (Psychology)
dc.subjectReflective learning
dc.titleปฏิสัมพันธ์ระหว่างการสะท้อนคิดของผู้เรียนและการให้ข้อมูลย้อนกลับของผู้สอนในการพัฒนาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อการสร้างสรรค์งานคอมพิวเตอร์กราฟิกของนักเรียนen_US
dc.title.alternativeAN INTERACTION BETWEEN LEARNER REFLECTION AND TEACHER FEEDBACK IN ELECTRONIC PORTFOLIO DEVELOPMENT ON STUDENTS’ COMPUTER GRAPHIC CREATIONen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPrakob.K@Chula.ac.th,onlineteacher2005@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1256-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5483383827.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.