Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนิดา ปรีชาวงษ์en_US
dc.contributor.authorพิรุณพร ประเสริฐen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:40:15Z-
dc.date.available2015-09-19T03:40:15Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46527-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษาและส่งเสริมการเดินออกกำลังกายต่อพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ยังคงสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องภายใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้จากคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 25 คน กลุ่มทดลอง 25 คน กลุ่มควบคุมได้รับคำปรึกษาให้เลิกบุหรี่แบบกระชับเป็นรายบุคคล ส่วนกลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมการให้คำปรึกษาและส่งเสริมการเดินออกกำลังกายซึ่งประกอบด้วยการให้คำปรึกษาเพื่อเลิกบุหรี่เป็นรายบุคคล การแนะนำวิธีเดินออกกำลังกายและประโยชน์ของการเดินต่อการเลิกบุหรี่ ใช้เวลาทั้งหมด 8 สัปดาห์ เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเดินออกกำลังกาย, และแบบวัดพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโปรแกรมการให้คำปรึกษาและส่งเสริมการเดินออกกำลังกายมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเลิกบุหรี่มากกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังกลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมการให้คำปรึกษาและส่งเสริมการเดินออกกำลังกายมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเลิกบุหรี่มากกว่ากลุ่มที่ได้รับคำปรึกษาแบบกระชับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to examine the effect of intensive smoking cessation counseling and promoting walking exercise program on quit smoking behavior in chronic ill patients. Using convenience sampling technique, 50 smokers who diagnosed with chronic disease were recruited from the smoking cessation clinic, Phon hospital Khonkean province. The study samples were equally divided into the control group and the experimental group. While the control group received brief advice on cessation, the experimental group participated in the 8-weeks intensive smoking cessation counseling and promoting walking exercise program. The instruments for collecting data were perceived self-efficacy for walking exercise questionnaire and smoking cessation behavior questionnaire. Data were analyzed using descriptive and t-test statistics. The major finding showed that after the intervention, the mean score of smoking cessation behavior in the experimental group was significantly higher than before the intervention (p < .05). Likewise, comparisons of mean score in both groups, the mean score of the experimental group was significantly higher than that of the control group (p < .05).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1293-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
dc.subjectการติดบุหรี่
dc.subjectการเลิกบุหรี่
dc.subjectการออกกำลังกาย
dc.subjectการเดิน
dc.subjectการให้คำปรึกษา
dc.subjectChronically ill
dc.subjectCigarette habit
dc.subjectSmoking cessation
dc.subjectExercise
dc.subjectWalking
dc.subjectCounseling
dc.titleผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษาและส่งเสริมการเดินออกกำลังกายต่อพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, คลินิกเลิกบุหรี่en_US
dc.title.alternativeEFFECT OF INTENSIVE SMOKING CESSATION COUNSELING AND PROMOTING WALKING EXERCISE PROGRAM ON QUIT SMOKING BEHAVIOR IN CHRONIC ILL PATIENTS, SMOKING CESSATION CLINICen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSunida.P@Chula.ac.th,psunida.cu@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1293-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5577182136.pdf5.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.