Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญญา ตุ้ยคำภีร์-
dc.contributor.advisorสมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต-
dc.contributor.authorบุญสิตา ทองกิตติกุล-
dc.contributor.authorธนะมินทร์ ไวฉายหิรัญโชติ-
dc.contributor.authorริณรัตน์ อนุพันธ์พิศิษฐ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2016-02-16T10:54:27Z-
dc.date.available2016-02-16T10:54:27Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.otherPsy 151-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47169-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2011en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเอง การทำหน้าที่ของครอบครัว และสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเองและการทำหน้าที่ของครอบครัวที่ส่งผลต่อ สุขภาวะทางจิตที่ดีของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ คือ ผู้สูงอายุ ช่วงอายุระหว่าง 60 ปีขึ้นไป จำนวน207คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเอง แบบวัดการทำหน้าที่ของครอบครัว และ แบบวัดสุขภาวะทางจิต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson's correlation) และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การเห็นคุณค่าในตนเองมีสหสัมพันธ์ทางบวกกับสุขภาวะทางจิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ) r = .543, p<.01) 2. การทำหน้าที่ของครอบครัวมีสหสัมพันธ์ทางบวกกับสุขภาวะทางจิต อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ )r = .574, p<.01) 3. การเห็นคุณค่าในตนเองและการทำหน้าที่ของครอบครัวสามารถร่วมกันทำนาย สุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 44 (R2=.44, p<.01)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to examine relationship among self-esteem, family functioning, and psychological well-being of the elderly. Participants were 207 elderly. The instruments were 1) Self Esteem Scale 2) Family Functioning Scale and 3) Psychological Well-being Scale. Data analyses using Descriptive Statistics Pearson Product Moment Correlation and Multiple Regression Analysis Results showed that: 1. Self-esteem is significantly and positive correlated with Psychological Well-being )r = .543, p<.01) 2. Family functioning is significantly and positive correlated with Psychological Well-being )r = .574, p<.01) 3. Self-esteem and Family Functioning significantly predict Psychological Well-being of the elderly and accounted for 44 percent of variance 44 (R2=.44, p<.01)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความนับถือตนเองในผู้สูงอายุen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ความสัมพันธ์ในครอบครัวen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- สุขภาพจิตen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectSelf-esteem in old ageen_US
dc.subjectOlder people -- Domestic relationsen_US
dc.subjectOlder people -- Mental healthen_US
dc.subjectOlder people -- Psychologyen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเอง การทำหน้าที่ของครอบครัวและสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุen_US
dc.title.alternativeRelationships among self-esteem, family functioning and psychological well-being of the elderlyen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorarunya.t@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
boonsita_th.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.