Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47256
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิณี วิวัฒน์วานิช-
dc.contributor.authorนพรัตน์ กิ่งแก้ว-
dc.date.accessioned2016-03-11T03:32:18Z-
dc.date.available2016-03-11T03:32:18Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47256-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานกับภาวะสุขภาพของพยาบาลห้องผ่าตัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานกับภาวะสุขภาพของพยาบาลห้องผ่าตัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานประจำห้องผ่าตัด จำนวน 267 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามการรับรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานและแบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู้ภาวะสุขภาพของพยาบาลห้องผ่าตัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ได้ค่าความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ .81 ทดสอบความเที่ยงของเครื่องมือวิเคราะห์สัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถามการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานเท่ากับ .93 แบบสอบถามภาวะสุขภาพของพยาบาลห้องผ่าตัดเท่ากับ .78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะสุขภาพของพยาบาลห้องผ่าตัด โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับ ปานกลาง 2. การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของพยาบาลห้องผ่าตัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัของรัฐอยู่ในระดับปานกลาง 3. การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานด้านจิตวิทยาสังคมและด้านวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะสุขภาพของพยาบาลห้องผ่าตัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the environment management for safety workplace, and health status of perioperative nurses in government university hospital add to determine. The relationship between the environment management for safety workplace, and health status of perioperative nurses for variables that would be able to predict the health status for perioperative nurses. A sample is consisted of 267 perioperative nurses selected by Multi-stage Random Sampling technique. The research instrument were two questionnaires developed by the researcher: the environment management for safety workplace, and the health status of perioperative nurses Questionnaires. They were validated for content validity by five experts with content Validity Index at .81 Reliability Index at .93 and .78 respectively. Statistical techniques utilized in data analysis, Cronbach’s coefficient. Data were analyzed using mean, standard deviation, and Pearson’s product moment correlation coefficient. Major findings were as follows: 1. The arithmetic mean of health status of perioperative nurses was at moderate level 2. Environment management for safety workplace of perioperative nurses was at moderate level. 3. The environment management for occupational safety was positively related to health status of perioperative nurses at .01 statistically significant (α .01).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.518-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพยาบาล -- สุขภาพและอนามัยen_US
dc.subjectพยาบาลห้องผ่าตัด -- สุขภาพและอนามัยen_US
dc.subjectห้องผ่าตัด -- มาตรการความปลอดภัยen_US
dc.subjectโรงพยาบาล -- มาตรการความปลอดภัยen_US
dc.subjectNurses -- Health and hygieneen_US
dc.subjectOperating room nurses -- Health and hygieneen_US
dc.subjectOperating rooms -- Security measuresen_US
dc.subjectHospitals -- Security measuresen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานกับภาวะสุขภาพของพยาบาลห้องผ่าตัด โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐen_US
dc.title.alternativeRelationships between personal factors, environmental management for safety workplace and health status of perioperative nurses in governmental university hospitalsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuvinee.W@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.518-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nopparatna_ki_front.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
nopparatna_ki_ch1.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open
nopparatna_ki_ch2.pdf5.08 MBAdobe PDFView/Open
nopparatna_ki_ch3.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
nopparatna_ki_ch4.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open
nopparatna_ki_ch5.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
nopparatna_ki_back.pdf3.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.