Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49823
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีรชาติ เปรมานนท์en_US
dc.contributor.authorเจษฎา เนตรพลับen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-11-30T05:37:20Z
dc.date.available2016-11-30T05:37:20Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49823
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่อง "นาฏยศิลป์พื้นเมืองมลายูปาตานี" เป็นการวิจัยสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยศิลป์ที่นำข้อมูลศิลปวัฒนธรรมและนาฏยศิลป์พื้นเมืองมลายูปาตานีมาใช้ในการออกแบบสร้างสรรค์เป็นผลงาน โดยตั้งประเด็นคำถามในการจัยถึงเอกลักษณ์ของนาฏยศิลป์พื้นเมืองมาลายูปาตานีดั้งเดิมมีลักษณะอย่างไร และควรมีแนวคิดในการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานอย่างไร ผลจากการวิจัยสร้างสรรค์ทำให้ได้การผลงานนาฏยศิลป์และแนวทางในการออกแบบนาฏยศิลป์พื้นเมือง ที่ให้ความสำคัญกับข้อมูลวัฒนธรรมเรื่อง "ว่าววงเดือน" ของชาวมลายูปาตานี ฉะนั้นผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ พัฒนาการ วัฒนธรรมและความเชื่อ รูปแบบการแสดงนาฏยศิลป์พื้นเมืองและเอกลักษณ์ของการแสดงนาฏยศิลป์พื้นเมืองมลายูปาตานี ตลอดจนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยสร้างสรรค์ประกอบด้วยเครื่องมือ 5 ชนิด คือ ข้อมูลจากเอกสาร ข้อมูลจากการสังเกตการณ์ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การทดลองปฏิบัติการสร้างสรรค์ และสื่อสารสนเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย การเก็บข้อมูลช่วงเดือนมิถุนายน 2553 ถึงเดือนธันวาคม 2557 ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การสัมภาษณ์รวมไปถึงศิลปินพื้นเมือง คณาจารย์ทางด้านนาฏยศิลป์ ผู้นำศาสนาอิสลาม และนักวิชาการ ข้อมูลทั้งหมดถูกนำมาวิเคราะห์เพื่อตอบคำถามในการวิจัยสร้างสรรค์ จนได้ผลงานการแสดงและแนวคิดในการออกแบบสร้างสรรค์นาฏยศิลป์พื้นเมืองมลายูปาตานีที่คำนึงถึงองค์ประกอบการแสดงทางด้านนาฏยศิลป์ที่ประกอบไปด้วย โครงสร้างการแสดง ผู้แสดง การออกแบบท่ารำ การออกแบบดนตรี และการออกแบบเครื่องแต่งกาย ตรงตามวัตถุประสงค์ทุกประการen_US
dc.description.abstractalternativeThe research entitled ‘The Traditional Dance of Malay Patani’ is a research incorporating to the local art, culture, and Traditional dance of Malay Patani into a new dance form. The study aims to examine the identity of the local art, culture, and the traditional dance of Malay Patani and design a novel form of dance, placing emphasis on the Wau Bulan. The data has been collected from relevant documents, field observation, dance creation and trials, and other sources of information from June 2010 until December 2014. The documentary search focused on the development and beliefs pertaining to the local art, dance, and culture of Malay Patani. Interviews were also conducted with local artists, dance art lecturers, Islam religious leaders, and academics. The research results provided concepts and guidelines for designing Patani dance art taking into account the local performance, performers, dance postures, music, and costume.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเต้นรำพื้นเมือง
dc.subjectนาฏยประดิษฐ์
dc.subjectนาฏศิลป์ไทย
dc.subjectนาฏศิลป์มลายูปัตตานี
dc.subjectFolk dancing
dc.subjectChoreography
dc.subjectDramatic arts, Thai
dc.subjectDramatic arts, Malay Patani
dc.titleนาฏยศิลป์พื้นเมืองมลายูปาตานีen_US
dc.title.alternativeThe traditional dance of Malay Patanien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineนาฏยศิลป์ไทยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWeerachat.P@Chula.ac.th,drwpremananda@yahoo.comen_US
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5286823035.pdf5.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.