Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50728
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPuree Anantachotien_US
dc.contributor.authorPayungjit Kangwolen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciencesen_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:02:50Z-
dc.date.available2016-12-02T02:02:50Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50728-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractNowadays, roles of the community pharmacists have been changed from drug dispensing by expanding to focus more on patients-oriented service. The new extended services were implemented in several developed countries. This study aimed to investigate physicians’, consumers’ and community pharmacists’ attitude toward the proposed extended community pharmacy services and to evaluate factors influencing community pharmacists’ intention to deliver these new extended community pharmacy services. For the first phase study, a qualitative approach involving an in-depth interview was conducted in three informant groups; consumers, physicians and community pharmacists in Bangkok metropolitan area. The interviews investigated informants’ knowledge about and opinions toward ten extended pharmacy services provided in community pharmacy. For the second phase study, a cross-sectional study using self-administered mail survey was conducted in Bangkok area. Community pharmacists; owners or managers, were requested to complete questionnaire. Factors affecting intention to provide two priorities extended services derived for first phase study, medicine management program ad disease screening, were evaluated. Results from the first phase study revealed that consumers were less acquainted with extended patient-oriented services while physicians were the most knowledgeable group. Six main themes were identified; access to service, perceived benefits and barriers, system readiness, service quality assurance, pharmacy readiness and scope of professional responsibility. Medicines management was 100% agreed by all informants that it should be provided in community pharmacy. Return of unwanted medicine, smoking cessation, promotion of healthy lifestyle and weight management were also highly agreed to be provided in community pharmacy. Disease screening was agreed by pharmacists and consumers, but some physicians disagreed. Results from the second phase study revealed that most community pharmacists intention to provide disease screening (27.60%) and medication management program (24.10%) within one year. As for factor which significantly affected on community pharmacists’ intention to provide these services based on diffusion of innovation theory, only compatibility with pharmacy profession framework had statistically significant effect on intention to provide medication management program (OR=2.995, 95% CI=1.034-8.671). Complexity had statistically significant effect on intention to provide disease screening (OR=0.328, 95% CI=0.111-0.968). In conclusion, medicine management program and disease screening should be provided in Thai community pharmacy as priority. However, capacity building to prepare system readiness was identified a crucial success factor. Compatibility with pharmacy profession framework was the most important characteristic of medication management program while complexity was the most important characteristic of disease screening. NHSO and policy maker should develop business model and strategy based on findings from these study results for sustainable community pharmacy profession.en_US
dc.description.abstractalternativeในปัจจุบันการให้บริการเภสัชกรรมชุมชนในร้านยาในหลายๆประเทศได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไป จากการให้บริการที่มุ่งเน้นตัวผลิตภัณฑ์ เป็นการให้บริการที่มุ่งเน้นที่ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ซึ่งพบได้แพร่หลายโดยเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแล้ว การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทัศนคติของ แพทย์ ผู้รับบริการ และเภสัชกรชุมชน ต่อการให้บริการเสริมในร้านยา และเพื่อประเมินปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อความตั้งใจของเภสัชกรชุมชนในการให้บริการเสริมในร้านยา การศึกษาในวัตถุประสงค์ที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ แพทย์ ผู้มารับบริการที่ร้านยา และ เภสัชกรชุมชน ภายในจังหวัดกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับความคิดเห็นที่มีต่อบริการเภสัชกรรมชุมชนรูปแบบใหม่จำนวน 10 บริการรวมทั้งเหตุผลที่สนับสนุนหรือไม่ให้การสนับสนุนด้วยต่อการให้บริการนั้นๆในร้านยา การศึกษาในวัตถุประสงค์ที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณแบบภาคตัดขวาง เพื่อประเมินปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อความตั้งใจของเภสัชกรชุมชนในการให้บริการเภสัชกรรมชุมชนรูปแบบใหม่ 2 บริการที่คัดเลือกจากผลการวิจัยในวัตถุประสงค์ที่ 1 ซึ่งผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลผู้มารับบริการที่ร้านยามีความรู้เกี่ยวกับบริการเสริมในร้านยาน้อยที่สุดในขณะที่แพทย์เป็นผู้ที่รู้จักบริการเสริมในร้านยามากที่สุด การศึกษาองค์ประกอบหลักของความคิดเห็นจากคนทั้งสามกลุ่มพบว่า การเข้าถึงการให้บริการ การรับรู้ถึงประโยชน์และอุปสรรค ความพร้อมของระบบ คุณภาพของการให้บริการ ความพร้อมของร้านยาและขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ให้บริการ เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการสนับสนุนหรือไม่ให้การสนับสนุนการให้บริการเสริมในร้านยา โดยการบริหารจัดการด้านยา เป็นงานบริการที่ได้รับการ สนับสนุนจากผู้เกี่ยวข้องทั้งสามกลุ่ม การรับคืนยาที่ไม่ใช้แล้ว บริการช่วยเลิกบุหรี่ บริการส่งเสริมสุขภาพ และการให้บริการควบคุมน้ำหนัก ได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมากให้มีการให้บริการในร้านยา การคัดกรองโรคได้รับการสนับสนุนจากเภสัช ในขณะที่ผู้มารับบริการที่ร้านยาและแพทย์ไม่สนับสนุน สำหรับผลการศึกษาในวัตถุประสงค์ที่ 2 พบว่าเภสัชกรส่วนใหญ่มีความตั้งใจในการให้บริการการบริหารจัดการด้านยา และการคัดกรองโรคในร้านยา ภายในหนึ่งปี (24.10% และ 27.60% ตามลำดับ) ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการให้บริการเสริม ภายใต้กรอบแนวคิดการวิจัยที่ได้จากทฤษฏีการแพร่กระจายนวัตกรรมพบว่า ลักษณะความสอดคล้องกันของบริการเสริมภายใต้กรอบวิชาชีพเภสัชกรรม (OR=2.995, 95% CI=1.034-8.671) มีผลต่อความตั้งใจของเภสัชกรในการให้บริการการบริหารจัดการด้านยา และ ความซับซ้อนในการให้บริการ (OR=0.328, 95% CI=0.111-0.968) มีผลต่อความตั้งใจของเภสัชกรในการให้บริการการคัดกรองโรค อย่างมีนัยสำคัญ ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ว่า การให้บริการการบริหารจัดการด้านยาและบริการคัดกรองโรคเป็นงานบริการที่ควรให้การสนับสนุนในโครงการนำร่องเป็นอันดับแรก การส่งเสริมด้านความพร้อมของร้านยาทั้งในด้านเทคโนโลยีและระบบการจัดการข้อมูลเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมาก ลักษณะที่สำคัญของงานบริการเสริมในร้านยาคือลักษณะความสอดคล้องกันของบริการเสริมภายใต้กรอบวิชาชีพเภสัชกรรม และความซับซ้อนในการให้บริการ มีผลต่อความตั้งใจในการให้บริการการบริหารจัดการด้านยาและบริการคัดกรองโรคของเภสัชกรชุมชนอย่างมีนัยสำคัญตามลำดับ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการร่างนโยบายควรนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเพื่อไปพัฒนารูปแบบบริการเสริมในร้านยา รวมทั้งสร้างกลยุทธ์และนโยบายส่งเสริมให้เภสัชกรชุมชนมีความตั้งใจเพิ่มขึ้นในการให้บริการเสริมในร้านยา และเพื่อความยั่งยืนของวิชาชีพเภสัชกรชุมชนen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.304-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPharmacists
dc.subjectPharmaceutical services
dc.subjectเภสัชกร
dc.subjectการบริบาลทางเภสัชกรรม
dc.titleREADINESS AND INTENTION TO PROVIDE EXTENDED COMMUNITY PHARMACY SERVICESen_US
dc.title.alternativeความพร้อมและความตั้งใจในการขยายบทบาทการให้บริการเภสัชกรรมชุมชนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineSocial and Administrative Pharmacyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorPuree.A@Chula.ac.th,puree.a@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.304-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5576356933.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.