Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50922
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorใจทิพย์ ณ สงขลาen_US
dc.contributor.authorธัญญาพร เจียศิริพันธ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:06:36Z
dc.date.available2016-12-02T02:06:36Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50922
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับสื่อเออาร์แบบจัดกระทำในสถานการณ์จำลอง 2) เพื่อศึกษาผลคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนด้วยสื่อเออาร์แบบจัดกระทำในสถานการณ์จำลอง และ 3) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 60 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับสลากแบ่งกลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 คน ซึ่งกลุ่มทดลองเรียนโดยใช้สื่อเออาร์แบบจัดกระทำ และกลุ่มควบคุมเรียนโดยใช้สื่อเออาร์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) สื่อเออาร์แบบจัดกระทำในสถานการณ์จำลอง และ 2) แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ วิธีการหาคุณภาพเครื่องมือในการวิจัยโดยใช้แบบประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ การเก็บข้อมูลในการวิจัยโดยใช้ 1) แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 2) แบบสังเกตพฤติกรรม และ 3) แบบประเมินการสรุปความรู้หลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าสถิติ t-test และ ANCOVA ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนโดยใช้สื่อเออาร์แบบจัดกระทำในสถานการณ์จำลองมีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนโดยใช้สื่อเออาร์แบบจัดกระทำในสถานการณ์จำลองมีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้สื่อเออาร์แบบจัดกระทำไม่ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis are 1) a study from the opinion of the professor about developing am augmented reality in simulated situation with manipulation, 2) a study in an analytical thinking ability score of a middle school students learned by simulated AR manipulation method and 3) an comparison in a thinking ability of a lower secondary school students between a control and an experimental group. The subjective are 60 the lower secondary school students divided with simple random sampling method to a control and an experimental group containing 30 students each. The experimental groups learn from a simulated situation AR media with a manipulation but control groups learn from a simulated situation AR media. The tools in this research are the simulated situation AR media with manipulation and an analytical thinking ability evaluation. The quality of the measurement applied at this research was confirmed by the professors. The data in this research were collected by 1) an analytical thinking ability evaluation 2) a behavior observation form and 3) a posttest evaluation test. The data were analyzed by mean, a standard deviation, a t-test and an ANCOVA. The results are 1) The posttest analytical thinking ability score of both experiment and control groups is significantly better than pretest at the level of .01 and 2) The posttest score of experiment groups is significantly better than the control groups at the level of .01en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1152-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความเป็นจริงเสริม
dc.subjectการสอนด้วยสื่อ
dc.subjectความคิดและการคิด
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
dc.subjectAugmented reality
dc.subjectTeaching -- Aids and devices
dc.subjectThought and thinking
dc.subjectJunior high school students
dc.titleผลของการเรียนรู้จากสื่อเออาร์แบบจัดกระทำในสถานการณ์จำลองที่มีผลต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นen_US
dc.title.alternativeEffects of manipulative augmented reality materials learning in simulation on analytical thinking ability of lower secondary school studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJaitip.N@Chula.ac.th,jaitipn@gmail.com,Jaitip.N@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1152-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5683340027.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.