Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ ชัยวัฒน์en_US
dc.contributor.authorปกรณ์ ผดุงศิลป์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T06:02:16Z
dc.date.available2016-12-02T06:02:16Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51206
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเบี่ยงเบนความสนใจโดยใช้การ์ตูนเคลื่อนไหวและการเบี่ยงเบนความสนใจโดยใช้เกมดิจิตอลต่อพฤติกรรมความกลัวของเด็กวัยก่อนเรียนที่ได้รับการพ่นยาฝอยละอองในห้องฉุกเฉิน กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยเด็กวัยก่อนเรียนอายุ 3-5 ปี โรคติดเชื้อทางเดินหายใจหรือโรคหืด ที่เข้ารับการรักษาในห้องฉุกเฉินสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี และได้รับการพ่นยาฝอยละออง ผ่านทางหน้ากากโดยใช้เครื่องกำเนิดฝอยละอองแบบ small volume nebulizer จำนวน 60 ราย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 20 ราย ได้แก่ กลุ่มที่ได้รับการพยาบาลปกติ กลุ่มที่ได้รับการเบี่ยงเบนความสนใจโดยใช้การ์ตูนเคลื่อนไหว และกลุ่มที่ได้รับการเบี่ยงเบนความสนใจโดยใช้เกมดิจิตอล เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมความกลัวต่อการได้รับยาพ่นแบบฝอยละอองของผู้ป่วยเด็กวัยก่อนเรียนของ จิรวัชร เกษมสุขและ วราภรณ์ ชัยวัฒน์ (2555) ซึ่งมีดัชนีความตรงตามเนื้อหา .96 ความเที่ยง .95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กวัยก่อนเรียนที่ได้รับการเบี่ยงเบนความสนใจโดยใช้การ์ตูนเคลื่อนไหวมีความกลัวน้อยกว่าเด็กวัยก่อนเรียนที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2. เด็กวัยก่อนเรียนที่ได้รับการเบี่ยงเบนความสนใจโดยใช้เกมดิจิตอลมีความกลัวน้อยกว่าเด็กวัยก่อนเรียนที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เด็กวัยก่อนเรียนที่ได้รับการเบี่ยงเบนความสนใจโดยใช้การ์ตูนเคลื่อนไหวมีความกลัวไม่แตกต่างกับเด็กวัยก่อนเรียนที่ได้รับการเบี่ยงเบนความสนใจโดยใช้เกมดิจิตอลen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research was to compare the distraction by animation and by digital games on children’s fear of aerosol therapy in emergency room. Sixty preschool children with acute respiratory infection or asthma receiving aerosol therapy the emergency room of the Queen Sirikit National Institute of Child Health were randomly assigned to the control group, the distraction by animation group, and the distraction by digital games group. Children’s fear was collected by the Aerosol Therapy Fear Behavior Scale of Chirawachr Kasemsook and Waraporn Chaiyawat (2555). Its Content Validity Index was .95 and its interrater reliability coefficient was.95. Data were analyzed by ANOVA. Findings were as follows. 1. Preschool children receiving distraction by animation had significant less fear of aerosol therapy than those receiving routine nursing care, at the statistical level of .05. 2. Preschool children receiving distraction by digital games had significant less fear of aerosol therapy than those receiving routine nursing care, at the statistical level of .05. 3. Fear of aerosol therapy of preschool children receiving distraction by animation and by digital games were not different.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.771-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการรักษาด้วยละอองลอย
dc.subjectการรักษาทางเดินหายใจ
dc.subjectผู้ป่วยเด็ก
dc.subjectความกลัวในเด็ก
dc.subjectAerosol therapy
dc.subjectRespiratory therapy
dc.subjectSick children
dc.subjectFear in children
dc.titleการเปรียบเทียบการเบี่ยงเบนความสนใจโดยใช้การ์ตูนเคลื่อนไหวกับเกมดิจิตอล เพื่อลดความกลัวของเด็กวัยก่อนเรียนต่อการพ่นยาฝอยละอองในห้องฉุกเฉินen_US
dc.title.alternativeComparison of distraction by animation and digital game on preschool children's fear of aerosol therapy in emergency roomen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWaraporn.Ch@Chula.ac.th,waraporn.chaiyawat@gmail.com,theredpark@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.771-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5577174136.pdf4.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.