Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51255
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์en_US
dc.contributor.authorณิชา วุฒิวณิชย์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T06:03:17Z
dc.date.available2016-12-02T06:03:17Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51255
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาโดยใช้แนวคิดการกำกับตนเองเพื่อพัฒนาความตระหนักรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวนทั้งหมด 75 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 38 คน กลุ่มควบคุม 37 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาโดยใช้แนวคิดการกำกับตนเองเป็นเวลา 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งหมด 8 กิจกรรมการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความตระหนักรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศด้วยการทดสอบค่าที (t–test) โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษา พบว่า 1. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความตระหนักรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. หลังการทดลอง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยความตระหนักรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThis Quasi - Experimental Research aimed to study the effects of learning activity management on sex education by using self-regulation concept to develop sexual behavior risk awareness of seventh grade students. The sample was 75 seventh grade students under the Secondary Educational Service Area Office Two, Bangkok. The experimental group of 38 and control group of 37 students. The experimental group received the learning activity management on sex education by using self-regulation for four weeks with 8 learning activities. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t - test by determining the level of statistical significance at .05. The results showed that 1. Mean scores of the experimental group concerning sexual behavior risk awareness were higher than before the experiment at the .05 level of statistical significances. 2. Mean scores concerning sexual behavior risk awareness of the experimental group and the control group after experiment were found no significant differences at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1107-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเด็ก -- พฤติกรรมทางเพศ
dc.subjectเพศศึกษาสำหรับเด็ก
dc.subjectเพศศึกษา
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอน
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
dc.subjectChildren -- Sexual behavior
dc.subjectSex instruction for children
dc.subjectSex instruction
dc.subjectActivity programs in education
dc.subjectJunior high school students
dc.titleการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาโดยใช้แนวคิดการกำกับตนเองเพื่อพัฒนาความตระหนักรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1en_US
dc.title.alternativeLearning activity management on sex education by using self-regulation concept to develop sexual behavior risk awareness of seventh grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAimutcha.W@Chula.ac.th,aimutchaw@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1107-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5583460527.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.