Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชญาพิมพ์ อุสาโหen_US
dc.contributor.authorกานต์สินี สุขุมาลรังสีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T06:05:35Z-
dc.date.available2016-12-02T06:05:35Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51372-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และแนวทางการแก้ปัญหาการบริหารจัดการชั้นเรียนของครูประจำชั้นและครูประจำวิชาตามแนวคิดการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองคุณภาพในระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อนำเสนอแนวทางพัฒนาการบริหารจัดการชั้นเรียนที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองคุณภาพในระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการชั้นเรียนที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองคุณภาพในระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 14 แนวทาง ภายใต้กรอบแนวคิดความเป็นพลเมืองคุณภาพในระบอบประชาธิปไตย 3 ด้าน ได้แก่ แนวทางที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ 2 แนวทาง เช่น ครูควรใช้หลักประชาธิปไตยในการปกครอง คือ ความเสมอภาค การยอมรับ การเคารพและการให้เกียรติกัน แนวทางที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองที่มีส่วนร่วม 6 แนวทาง เช่น ครูควรระบุกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจหรือสิ่งแวดล้อม และแนวทางที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองที่มุ่งเน้นความยุติธรรม 6 แนวทาง เช่น ครูควรจัดสรร อุปกรณ์การเรียน สื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ในชั้นเรียนให้ง่ายต่อการเข้าถึงของนักเรียนen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were to study the state, problems, and solution guidelines of classroom management of homeroom teachers and teachers based on the concept of enhancing quality democratic citizenship of upper secondary school students, in order to propose the guidelines for a classroom management development to enhance quality democratic citizenship of upper secondary school students. The findings showed that the guidelines for a classroom management development to enhance quality democratic citizenship of upper secondary school students were 14 guidelines as follows 2 guidelines for personally responsible citizen, for example; teachers should use democratic principles: equality, acceptance, respect, and honor, 6 guidelines for participatory citizen, for example; teachers should specify the activities that encourage students participating in politic, economic, and environment, and 6 guidelines for justice-oriented citizen, for example; teachers should use instructional material that easy to understand for every students.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1216-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectประชาธิปไตยกับการศึกษา-
dc.subjectความเป็นพลเมือง -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
dc.subjectประชาธิปไตย -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
dc.subjectDemocracy and education-
dc.subjectCitizenship -- Study and teaching (Secondary)-
dc.subjectDemocracy -- Study and teaching (Secondary)-
dc.titleแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการชั้นเรียนที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองคุณภาพในระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeGuildelines for a classroom management developement to enhance quality democratic citizenship of upper secondary school students under the secondary educational service area in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChanyapim.U@Chula.ac.th,Chayapim.U@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1216-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5783433827.pdf6.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.