Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51482
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รมย์ ภิรมนตรี | |
dc.date.accessioned | 2017-01-16T02:15:58Z | |
dc.date.available | 2017-01-16T02:15:58Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.citation | วารสารรัสเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 4, 1- 2 (2556), 179-194 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51482 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มีเนื้อหาต่อเนื่องจากเรื่องรัสเซีย: มหาอำนาจนิวเคลียร์ (1) ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารนี้ฉบับที่ผ่านมา สาระสำคัญของเรื่องจะกล่าวถึงพัฒนาการการสร้างอาวุธนิวเคลียร์ของสหภาพโซเวียต ซึ่งหลังการทดลองระเบิดไฮโดรเจนสำเร็จก็ได้เริ่มโครงการทดลองระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ (Ther-monuclear bomb) โดยมีเป้าหมายให้เป็นระเบิดที่มีอานุภาพการทำลายล้างสูงสุดถึง 101.5 เมกะตัน หรือเท่ากับความรุนแรงของระเบิดทีเอ็นที (TNT) จำนวน 101,500,000 ตัน จากพลังระเบิดที่รุนแรงดังกล่าวจึงได้รับฉายาว่า “ซาร์แห่งระเบิด” (“Tsar bomb”) หรือที่นิกิต้า ครุสชอฟผู้นำสหภาพโซเวียตในขณะนั้นได้กล่าวถึงในการปราศรัยในสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติครั้งที่ 15 ว่า “มารดากุซมา” (“Kuzma’s mother”) ซึ่งสามารถแปลได้ว่า “มารดาแห่งความชั่วร้าย” ระเบิดลูกประวัติศาสตร์นี้ได้สร้างเสร็จและทดลองในวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1961 โดยการปล่อยจากเครื่องบินให้ระเบิดกลางอากาศบริเวณเขตทดลองนิวเคลียร์ ซูโคยโนส (Sukhoi Nos) อ่าวมิจูชิคา (Mityushikha) เกาะโนวายา ชิมเลีย (Novaya Zemlya) มหาสมุทรอาร์คติก ผลของการทดลองได้สร้างสถิติอานุภาพการระเบิดที่รุนแรงที่สุดครั้งใหม่ที่ยังไม่มีการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใดทำลายสถิติได้จวบจนปัจจุบัน | |
dc.description.abstractalternative | This article is a continuation from “Russia as a Nuclear Power (1)”, which was published in previous issue of this journal. Its main focus is on the development of the Soviet Union’s nuclear capabilities. Following its successful hydrogen-bomb test. The Soviet Union commenced its thermonuclear bomb program, whose objective was to create a bomb with a destructive capacity of 101.5 megaton, which amounts to a TNT equivalent of 101,500,000 tons. With such a destructive power, the bomb was dubbed a “Tsar bomb”, or as Nikita Khruschev, the Soviet leader at that time, made a mention of it at the 15th session of the UN General Assembly as “Kuzma’s mother”, which could be translated as “a mother of evil”. After it had been built, this historic bomb was successfully tested on 30 October 1961 by being dropped from a plane and exploded midair over Sukhoi Nos nuclear test zone at Mityshikha Bay of the Novaya Zemlya Island in the Arctic Ocean. The test gave a record explosive yield of a nuclear bomb that still stands today. | |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | รัสเซีย -- การเมืองและการปกครอง | en_US |
dc.title | รัสเซีย: มหาอำนาจนิวเคลียร์ (2) | en_US |
dc.title.alternative | Russia as a nuclear power (2) | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Arts - Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rom_Ph_Art_56_1.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.