Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51642
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญเรือง เนียมหอม | |
dc.contributor.author | หริลักษณ์ บานชื่น | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2017-02-03T02:31:43Z | |
dc.date.available | 2017-02-03T02:31:43Z | |
dc.date.issued | 2549 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51642 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการเรียนคณิตศาสตร์แบบผสมผสาน ด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักสำหรับนักเรียนศึกษาตอนต้น 2) พัฒนารูปแบบการเรียนคณิตศาสตร์แบบผสมผสาน ด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ได้ก่อนและหลังการเรียนคณิตศาสตร์แบบผสมผสาน ด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น และ 4) นำเสนอรูปแบบการเรียนคณิตศาสตร์แบบผสมผสาน ด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอนคณิตศาสตร์จำนวน 5 ท่าน และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บจำนวน 5 ท่าน 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2549 โรงเรียนปราโมทวิทยารามอินทราจำนวน 30 คนผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียนคณิตศาสตร์แบบผสมผสานด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 1) องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน 9 องค์ประกอบ ได้แก่ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน ลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิธีการปฏิสัมพันธ์บนเว็บ บทบาทผู้เรียน บทบาทผู้ดำเนินการสอน บทบาทของผู้เชี่ยวชาญและผู้สนับสนุนการเรียนการสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ 2) ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนประกอบด้วย 3 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนก่อนการจัดการเรียนการสอน ขั้นตอนระหว่างการจัดการเรียนการสอนและขั้นตอนหลังการเรียนการสอน 3) ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก 4 ขั้น ได้แก่ ขั้นนำเสนอปัญหา ขั้นสร้างประเด็นการเรียนรู้ ขั้นค้นคว้าหาความรู้และขั้นสรุป 2. ผลการใช้รูปแบบการเรียนคณิตศาสตร์แบบผสมผสานด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ได้พัฒนาขึ้นพบว่า ผู้เรียนที่ได้เรียนวิชาคณิตซาสตร์ด้วยรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักที่ได้พัฒนาขึ้นแล้ว จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) study the opinions of panel experts on the appropriate Problem-based Blended Learning model in Mathematics; 2) develop Problem-based Blended Learning model in Mathematics; 3) compare students pre- and post- learning achievements after learning from Problem-based Blended Learning model in Mathematics; and 4) propose the Problem-based Blended Learning model in Mathematics. The samples in this research consisted of 1) five experts in Mathematics and five experts in Web-Based Instruction and 2) 30 Mathayom Suksa Two students in the second semester of the 2006 academic year from Promochvithayaramindra school. The research revealed that 1. The Problem-based Blended Learning model in Mathematics for lower secondary school students comprised of : 1) the Problem-based Blended Learning model in Mathematics for lower secondary school students consisted of nine components: goal/objective, instructional activities, types of instruction, computer and internet system, interactive method, learner’s roles, teacher’s roles, facilitator’s role and, learning evaluation. 2) steps of the instruction comprised of : Pre- The Problem-based Blended Learning model in Mathematics, during, The Problem-based Blended Learning model in Mathematics, and post- The Problem-based Blended Learning model in Mathematics 3) steps of The Problem-based Learning comprised of : Presenting the problems, Analysing the problems, Gathering information and Making conclusions. 2. It was found that the subjects studied using The Problem-based Blended Learning model in Mathematics had statistically significant at .05 level learning achievement post-test scores higher than pre-test scores. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.778 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การเรียนการสอนผ่านเว็บ | en_US |
dc.subject | การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน | en_US |
dc.subject | การเรียนรู้แบบผสมผสาน | en_US |
dc.subject | Mathematics -- Study and teaching (Secondary) | |
dc.subject | Problem-based learning | |
dc.subject | Blended learning | |
dc.title | การนำเสนอรูปแบบการเรียนคณิตศาสตร์แบบผสมผสาน ด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น | en_US |
dc.title.alternative | Proposed problem-based blended learning model in mathematics for lower secondary school students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | โสตทัศนศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Boonruang.N@chula.ac.th | |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.778 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
hariluk_ba_front.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
hariluk_ba_ch1.pdf | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
hariluk_ba_ch2.pdf | 7.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
hariluk_ba_ch3.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
hariluk_ba_ch4.pdf | 2.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
hariluk_ba_ch5.pdf | 2.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
hariluk_ba_ch6.pdf | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
hariluk_ba_back.pdf | 19.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.