Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51766
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีณา จีระแพทย์-
dc.contributor.authorจักรี กั้วกำจัด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-11T13:35:05Z-
dc.date.available2017-02-11T13:35:05Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51766-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ความต้องการการดูแลของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนที่มีประสบการณ์ใส่ท่อหลอดลมคอ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ตามแนวคิดเชิงปรากฏการณ์วิทยาของ Husserl (Husserl Phenomenology) ผู้วิจันเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย โดยใช้วิธีสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) ร่วมกับกิจกรรมสันทนาการในผู้ป่วยเด็กวัยเรียนอายุ 9-12 ปี ที่มีประสบการณ์ใส่ท่อหลอดลมคอ การอิ่มตัวของข้อมูลเกิดขึ้นในการศึกษาผู้ให้ข้อมูลจำนวน 10 ราย การสัมภาษณ์บันทึกด้วยเทปบันทึกเสียง และนาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลตามแบบการวิเคราะห์ข้อมูลของ Colaizzi (2110 cited in Streubert & Carpenter, 2003) ผลการศึกษาทำให้สามารถอธิบายประสบการณ์ความต้องการการดูแลของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนที่ประสบการณ์ใส่ท่อหลอดลมคอ แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ความรู้สึกต่อประสบการณ์การใส่ท่อหลอดลมคอมี 4 ประเด็นได้แก่ 1) เจ็บปวด ทรมาน 2) น่าสะพรึงกลัว 3) อึดอัด คับข้องใจในการสื่อสาร และ 4) เบื่อ ส่วนที่ 2 ประสบการณ์ความต้องการการดูแลขณะใส่ท่อหลอดลมคอมี 3 ประเด็น ได้แก่ 1) สัมผัสที่อบอุ่นและอ่อนโยน 2) บริการสร้างเสริมจิตสุนทรีย์ และ 3) ช่องทางเจรจานำพาสุข ผลการศึกษานี้ ทำให้เข้าใจการรับรูปประสบการณ์ความต้องการการดูแลของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนที่มีประสบการณ์ใส่ท่อหลอดลมคอดีขึ้น และสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการพยาบาลแบบองค์รวม เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนที่ใส่ท่อหลอดลมคอได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
dc.description.abstractalternativeThe study purpose was to describe caring need experiences of endotracheal intubated school-age children. The Husserlian phenomenology was applied as a methodology of study. Data were collected by using in-depth interviews combined with entertainment activities in endotracheal intubated school-age children, age range 9-12 years old. Data were saturated after 10 informants. The interviews were tape recorded and transcribed verbatim. Data were analyzed by using Colaizzi method. (2001 cited in Sreubert & Carpenter, 2003) Findings revealed that caring need experiences of endotracheal intubated school-age children consisted of 2 parts. First, the feeing experiences of being endotracheal intubated consisted of 4 themes: 1) hurt and torture, 2) extreme fear, 3) oppression in communication, and 4) boredom. Second, the caring need experiences of being endotracheal intubated consisted of 3 themes: 1) loving and tender touch, 2) pleasant service, and 3) channel of comfort communication. This study provides an understanding about the perception of caring need from the experiences of endotracheal intubated school-age children. Findings can be used for developing holistic nursing interventions that can effectively meet needs of endotracheal intubated school-age childrenen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.936-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยen_US
dc.subjectเด็ก -- การดูแลen_US
dc.subjectผู้ป่วย -- การดูแลen_US
dc.subjectท่อลม (อวัยวะ)en_US
dc.subjectเครื่องช่วยหายใจen_US
dc.subjectPatientsen_US
dc.subjectChild careen_US
dc.subjectCare of the sicken_US
dc.subjectTrachea -- Intubationen_US
dc.subjectRespirators (Medical equipment)en_US
dc.titleประสบการณ์ความต้องการการดูแลของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนที่ใส่ท่อหลอดลมคอen_US
dc.title.alternativeCaring need experiences of endotracheal intubated school-age childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVeena.J@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.936-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chakri_ku_front.pdf896.38 kBAdobe PDFView/Open
chakri_ku_ch1.pdf980.2 kBAdobe PDFView/Open
chakri_ku_ch2.pdf4.55 MBAdobe PDFView/Open
chakri_ku_ch3.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open
chakri_ku_ch4.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open
chakri_ku_ch5.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
chakri_ku_back.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.