Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล ว่องวาณิช-
dc.contributor.advisorโชติกา ภาษีผล-
dc.contributor.authorนิอร ไชยพรพัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-14T09:15:51Z-
dc.date.available2017-02-14T09:15:51Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51829-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนามาตรวัดแบบการคิดพหุมิติตามทฤษฎีจิตในการปกครองตนเอง (Theory of Mental Self – government) สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เพื่อตรวจสอบคุณภาพของมาตรวัดแบบการคิดที่พัฒนาขึ้น 3) เพื่อศึกษาโปรไฟล์ของแบบการคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และความสัมพันธ์ของแบบการคิดของนักเรียนในแต่ละมิติกับภูมิหลังของนักเรียน ทั้งทางด้านเพศ และระดับผลการเรียน โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จำนวน 1,545 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ตามทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบด้วย Nominal Response Model การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์จำแนกกลุ่มแบบสองขั้นตอน 1)มาตรวัดแบบการคิดประกอบไปด้วย 5 มิติ ได้แก่มิติด้านหน้าที่ มิติด้านรูปแบบ มิติด้านระดับ มิติด้านขอบเขต และมิติด้านความโน้มเอียง มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .872, .913, .722, .777 และ .799 ตามลำดับ และมีความตรงเชิงโครงสร้าง เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพบว่ามาตรวัดแบบการคิดในทั้ง 5 มิติ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนี CFI อยู่ระหว่าง .918 ถึง .975 ค่าดัชนี TLI อยู่ระหว่าง .919 ถึง .988 ค่า RMSEA อยู่ระหว่าง .036 ถึง .046 และค่า SRMR อยู่ระหว่าง .060 ถึง .081 2)นักเรียนส่วนใหญ่มีแบบการคิดในมิติด้านหน้าที่เป็นแบบผู้ตัดสิน (judicial) มิติด้านรูปแบบ เป็นแบบลำดับขั้น (hierarchic) มิติด้านระดับเป็นแบบมองเฉพาะระดับท้องถิ่น (local) มิติด้านขอบเขตเป็นแบบภายนอก (external) และมิติด้านความโน้มเอียงเป็นแบบเสรีนิยม (liberal) 3)โปรไฟล์ของแบบการคิดทั้ง 96 โปรไฟล์ สามารถจัดกลุ่มได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแบบการคิดแบบใส่ใจรายละเอียด แบบมีกระบวนการ และแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยนักเรียนส่วนใหญ่ถูกจัดกลุ่มอยู่ในกลุ่มแบบการคิดแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์มากที่สุด 4)แบบการคิดของนักเรียนในแต่ละมิติและกลุ่มโปรไฟล์ของแบบการคิดมีความสัมพันธ์กับภูมิหลังของนักเรียน ได้แก่ เพศ และระดับผลการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed 1) to develop a multidimensional thinking styles scale based on theory of mental self-government for sixth grade student 2) to investigate quality of the developed scale 3) to study profile of styles of sixth grade student and a relation of profile of styles of student in each dimension and background of gender and grade with the group sample of 1,545 sixth grade students from schools affiliated with the Office of Basic Education Commission, Education Department Bangkok Metropolitan Administration, and Office of the Private Education Commission. Thinking styles scale for sixth grade student was utilized in this study and received information was analyzed by using Nominal Response Model (NRM), Confirmatory Factor Analysis and 2-step Cluster Analysis. The results revealed that: 1) Thinking styles scale comprised 5 dimensions of function, form, level, scope and leaning with reliability at .872, .913, .722, .777 and .799 respectively and construct validity by confirmatory factor analysis found that 5 dimensions of thinking styles scale conformed to the empirical data (CFI were .918 to .975, TLI were .919 to .988 RMSEA were .036 to .046 and SRMR were .060 to .081). 2) The majority of students had judicial styles of function, hierarchical styles of form, local style of level, external style of scope and liberal style of leaning. 3) Profile of thinking styles be clustered into 3 groups those were Detail Conscious Thinking Procedural Thinking and Achievement Motivation Thinking. The Majority of students had Achievement Motivation Thinking. 4) Thinking styles of students in each dimension related to their background of gender and grade with the level of significance at .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2122-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสร้างมาตรวัดแบบพหุมิติen_US
dc.subjectการควบคุมตนเองen_US
dc.subjectความคิดและการคิดen_US
dc.subjectMultidimensional scalingen_US
dc.subjectSelf-controlen_US
dc.subjectThought and thinkingen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleการพัฒนามาตรวัดแบบการคิดพหุมิติตามทฤษฎีจิตในการปกครองตนเองสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeDevelopment of a multidimensional thinking styles scale based on theory of mental self-government for sixth grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorwsuwimon@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2122-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
niorn_ch.pdf6.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.