Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52054
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ณัฐนันท์ คุณมาศ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-02-24T06:19:05Z | - |
dc.date.available | 2017-02-24T06:19:05Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.citation | วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 42,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2555),130-155 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-0590 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52054 | - |
dc.description.abstract | งานชิ้นนี้แสดงพัฒนาการการเปลี่ยนผ่านทางกรอบทฤษฏีในการศึกษาสหภาพยุโรปในสามระยะ 1) ทฤษฏีที่มุ่งศึกษาการบูรณาการ โดยพิจารณาแรงผลักดันและตัวแสดงที่มีบทบาทในการบูรณาการยุโรป สองสำนักหลักคือ ภารกิจนิยมใหม่ ได้รับความนิยมในช่วงทศวรรษที่ 1950-1970 ปะทะกับแนวความคิดที่เน้นความร่วมมือโดยรัฐสมาชิก/แนวคิดที่เน้นความร่วมมือโดยรัฐสมาชิกแบบเสรีนิยมมีอิทธิพลในกลางทศวรรษที่ 1960 และ 1990 2) ทฤษฏีนโยบายทางเลือกที่มีพื้นฐานจากทฤษฏีทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย สถาบันนิยมใหม่ เครือข่ายนโยบาย การปกครองหลายลำดับชั้น รัฐที่ควบคุมกำกับ และการปกครองเหนือรัฐ ที่มองสหภาพยุโรปเป็น “ระบบการเมือง” ที่มีพลวัตรในตัวเอง อันสืบเนื่องจากอิทธิพลของสหภาพยุโรปนโยบายหลายๆ ด้านของรัฐสมาชิกภายหลังการจัดตั้งยุโรปตลาดเดียวในช่วงทศวรรษที่ 1990 3) กระบวนการยุโรปภิวัฒน์ ซึ่งเป็นแนวทางใหม่ในการศึกษาสหภาพยุโรปที่เน้นมองว่ากลไกของสหภาพยุโรปได้มีอิทธิพลต่อรูปแบบพฤติกรรมของรัฐสมาชิก และการปรับพฤติกรรมของรูปแบบภูมิภาคนิยมในบริเวณอื่นของโลก | en_US |
dc.description.abstractalternative | The paper aims to provide the readers about theoretical developments and the changing paradigms regarding the study of the European Union affairs, which can be classified into three periods. 1) Integration theories dominated by the competing approaches of Neofunctionalism and Intergovernmentalism/Liberal Intergovernmentalism. The former neatly explained the events during 1950s until 1970s. Subsequent events led to its demise and gave rise to the latter in the mid 1960s and later in 1990s. 2) Alternative theories of Policy Studies based on political science and public administration theories i.e. New Institutionalism, Policy Networks, Multi-level Governance, Regulatory State and Supranational Governance. The academic focus began to understand the EU as ‘a dynamic political system’ due to the EU policy impacts on the member states after the establishment of the Single Market during 1990s. 3) Europeanization, a recently emerged approach in the studies of the European Union. It emphasizes that member states’ behaviours are changed through the engagement with the EU system. Moreover, the EU forms of political organization and governance goes beyond the European territory, shaping the regionalism in other areas. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | ผู้เขียนบทความอนุญาตให้ ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ เผยแพร่บทความนี้ผ่าน CUIR ตามจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ลงวันที่ 14 ก.พ. 2560 | - |
dc.subject | สหภาพยุโรป | en_US |
dc.title | ทฤษฎีในการศึกษาสหภาพยุโรป : จากการบูรณาการนโยบายทางเลือก สู่กระบวนการยุโรปภิวัตน์ | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.email.author | kn0908@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Pol - Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Natthanan_Ku_Art55.pdf | 2.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.