Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52833
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชิดชัย จันทร์ตั้งสี-
dc.contributor.authorสุชา เฉยศิริ-
dc.contributor.authorสถาพร บุตรน้ำเพ็ชร-
dc.contributor.authorมาลินี ฉัตรมงคลกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialชลบุรี-
dc.date.accessioned2017-05-02T08:59:29Z-
dc.date.available2017-05-02T08:59:29Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52833-
dc.description.abstractจากการสำรวจความหลากหลายของซิลิเอตพื้นที่ทะเลในทรายตัวอย่างที่เก็บจากหาดลูกลม เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี ในช่วงเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 พบซิลิเอตจำนวน 27 สกุล 60 ชนิด จากการระบุด้วยลักษณะทางลักษณะทางสัณฐานวิทยา โดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์เลนส๋ประกอบแบบใช้แสง ในจำนวนนี้ซิลิเอต karyorelictean เป็นกลุ่มที่พบมากที่สุดถึง 24 ชนิด และซิลิเอต 8 สกุล ได้แก่ Epiclintes, Prodiscocephalus, Protocruzia, Remanella, Trachelocerca, Tracheloraphis และ Urostyla พบรายงานเป็นครั้งแรกในประเทศ แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายของซิลิเอตพื้นทรายที่ยังไม่รับการสำรวจ การเพิ่มจำนวนและหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีนไรโบโซมอลดีเอ็นเออขนาดประมาณ 3,000-3,500 คู่เบส จากซิลิเอตที่คัดแยกออกมาทีละเซลล์ ได้ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีนไรโบโซมอลดีเอ็นเอจำนวนทั้งหมด 21 สาย จากซิลิเอต 14 ชนิด เพื่อใช้เป็นลายเซ็นโมเลกุลในการระบุชนิดของซิลิเอตที่สำรวจพบ การศึกษาครั้งนี้ไม่เพียงแต่นำร่องการระยุกต์ใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาในการระบุชนิดซิลิเอตพื้นที่ทะเลในทางอนุกรมวิธาน แต่ยังแสดงข้อมูลที่ครอบคลุมความหลากหลายทางชีวภาพของซิลิเอตที่อาศัยอยู่ตามหาดทรายชายฝั่งทะเลเป็นครั้งแรกของประเทศและชี้ให้เห็นถึงความต้องการถึงการสำรวจในเชิงลึกและวงกว้างถึงความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชิตพื้นทะเลจำพวกโพรติสต์ในประเทศไทยen_US
dc.description.abstractalternativeThe diversity of marine benthic interstitial ciliates in sand sediments sampled from Look-Lom Beach, Samaesarn Island, Chonburi Province were investigated during September 2011 to March 2013. Sixty morphospecies belonging to 27 genera were documented using light microscopy. Karyorelictean ciliates were the most abundant group and 24 morphospecies of them were recorded. Of all genera, eight, namely Epiclintes, Prodiscocephalus, Protocruzia, Remanella, Trachelocerca, Tracheloraphis and Urostyla, were reported for the first time in Thailand, suggesting unexplored diversity of meiofaunal ciliates. Amplification and sequencing of ribosomal DNA of about 3,000-3,500 bp were conducted for individually isolated ciliate cells. A total of 21 sequences derived from 14 species were obtained and used as molecular signatures for species identification of the examined taxa. Our study not only pioneers the application of molecular tools in taxonomic identification of marine benthic interstitial ciliates but also provides the first comprehensive data on their biodiversity and underpins the need for more intensive and extensive investigations into biodiversity of marine benthic protists in Thailand.en_US
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2556en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโปรโตซัวen_US
dc.subjectสาหร่ายขนาดเล็กen_US
dc.subjectสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวen_US
dc.titleการจำแนกชนิดของโพรติสต์บางชนิดที่พบในเกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรีโดยวิธีทางชีวโมเลกุล : รายงานวิจัยen_US
dc.title.alternativeMolecular identification of species of some protists at Samaesarn Island, Chonburi Provinceen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorchitchai.c@chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authormalinee.c@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chitchai_ch2556.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.