Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52853
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกวรรณ แสงเกียรติยุทธ-
dc.contributor.authorปราณี รัตนวลีดิโรจน์-
dc.contributor.authorธนิต สิงหบุญพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ-
dc.date.accessioned2017-05-04T06:13:35Z-
dc.date.available2017-05-04T06:13:35Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52853-
dc.description.abstractการเตรียมแผ่นฟิล์มไฮโดรเจลที่มีสมบัติยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ทำได้โดยเตรียมสารละลายที่ประกอบด้วยคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส พอลิเอธิลีนไกลคอล พอลิไวนิลไพโรลิโคน ซิลเวอร์ไนเตรท และใช้กรดซิทริกเป็นสารเชื่อมโยงพันธะ จากนั้นจึงทำการขึ้นรูปด้วยวิธีหล่อแบบ ทำให้แห้งและอบผนึก จากผลการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคอินฟราเรดสเปกโตรสโกปี การทดสอบการดูดซับน้ำ การละลายน้ำ และสมบัติเชิงกลของแผ่นฟิล์มไฮโดรเจล พบว่า นอกจากการเกิดพันธะเชื่อมโยงระหว่างคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสกับกรดซิทริกแล้ว ยังมีอันตรกิริยาเกิดขึ้นระหว่างพอลิไวนิลไพโรลิโคนกับกรดซิทริกด้วย ส่วนการเพิ่มปริมาณพอลิเอธิลีนไกลคอนนั้นมีผลทำให้แผ่นฟิล์มมีการดูดซับน้ำเพิ่มขึ้น การเกิดปฏิกิริยาดักชันของซิลเวอร์ไอออนไปเป็นอนุภาคเงินในสารละลายที่ใช้เตรียมไฮโดรเจนสามารถยืนยันได้จากเทคนิคยูวี-วิสิเบิลสเปกโตรสโกปี จากผลการทดลองพบว่า การมีอนุภาคเงินเป็นองค์ประกอบในแผ่นฟิล์มไฮโดรเจลมีผลทำให้ค่าการดูดซับน้ำและค่าความแข็งแรงของแผ่นฟิล์มลดลง อย่างไรก็ตามจากการทดสอบสมบัติการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์พบว่า แผ่นฟิล์มที่มีอนุภาคเงินเป็นองค์ประกอบที่ระดับความเข้มข้น 5,000 และ 10,000 ส่วนในล้านส่วน มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus เชื้อ Escherichia coli และเชื้อ Pseudomonas aeruginosa ได้ดีในขณะที่มีความเป็นพิษต่อเซลล์สิ่งมีชีวิตต่ำกว่าแผ่นปิดแผลเกรดการค้าที่มีโลหะเงินเป็นองค์ประกอบen_US
dc.description.abstractalternativeAntimicrobial hydrogel films are successfully prepared by casting the mixed solutions of carboxymethylcellulose, polyethyleneglycol, polyvinylpymolidone and silver nitrate using citric acid as a crosslinking agent. Then this solution is dried and cured to generate the polymer films. The analytical results from infrared spectroscopy (IR), water absorption, solubility and mechanical property reveal that not only the cross-links between carboxymethylcellulose and citric acid are created in the films but there are also interactions between polyvinylpyrrolidone and citric acid. Additionally, increasing of polyethylene glycol content can improve the water absorption ability of the hydrogel films. The formation silver particles (Agͦ) in the gels caused by the reduction of silver ions (Ag⁺) can be readily verified by UV-Vis spectroscopy. It can be noticed that the presence of silver particles significantly decreases the water absorption ability and the film strength. Nonetheless, the films containing 5,000 ppm and 10,000 ppm of silver particles exhibit high antimicrobial activity against Staphylococcus aureus, Escherichia coli and Pseudomonas aeruginosa. Interestingly, the cell toxicity of these films is lower than the commercially available silver wound dressing.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับสนับสนุนทุนวิจัยจากเงินทุนอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาลประจำปีงบประมาณ 2554en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอนุภาคนาโนen_US
dc.subjectเงินen_US
dc.titleการเตรียมแผ่นฟิล์มไฮโดรเจลที่มีอนุภาคเงินนาโน : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์en_US
dc.title.alternativePreparation of hydrogel film with silver nano-particlesen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorKanokwan.S@Chula.ac.th-
dc.email.authorPranee.R@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.discipline.code0316en_US
Appears in Collections:Metal - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanokwan_sa.pdf4.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.