Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53250
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิสิทธิ์ ซาลำ-
dc.contributor.authorชนิภช พนัสอาพล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพิจิตร-
dc.date.accessioned2017-09-07T03:55:52Z-
dc.date.available2017-09-07T03:55:52Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53250-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractการศึกษาการชะละลายโลหะหนักจากหินและตะกอนดินของเหมืองแร่ทองคำเขาพนมพา จังหวัดพิจิตร ประกอบด้วยตัวอย่าง 5 ประเภท คือ สายแร่ควอตซ์ หินผนังสายแร่ หินท้องที่ ตะกอนดิน บนเขาพนมพา และตะกอนดินบริเวณที่ราบด้านตะวันออก โดยในการศึกษาศิลาวรรณนาของแร่ซัลไฟด์ จากตัวอย่างหิน ได้แก่ สายแร่ควอตซ์ หินผนังสายแร่ และ หินท้องที่ ด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (Reflected light microscope) สามารถจำแนกชนิดและปริมาณของแร่ซัลไฟด์ ได้แก่ ไพไรต์ (FeS2) พิ โรไทต์ (Fe1-xS) และ คาลโคไพไรต์ (CuFeS2) โดยมีปริมาณมากที่สุดในสายแร่ควอตซ์ รองลงมาคือ หิน ผนังสายแร่ และน้อยที่สุดในหินท้องที่ ซึ่งแร่ซัลไฟด์ที่พบได้นำไปวิเคราะห์หาธาตุองค์ประกอบด้วยเครื่อง Electron Probe Micro Analysis (EPMA) สามารถยืนยันชนิดของแร่ซัลไฟด์และพบว่ามีธาตุร่องรอย คือ ทองแดง (Cu) สังกะสี (Zn) สารหนู (As) เงิน (Ag) แคดเมียม (Hg) ทอง (Au) ปรอท (Hg) และตะกั่ว (Pb) ส่วนการทดสอบการชะละลายด้วยวิธี Synthetic Precipitation Leaching Procedure (SPLP) ที่ พีเอช 4 (เพื่อจำลองสถานการณ์เลวร้ายที่สุด) โดยเครื่อง Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (ICP-MS) พบว่าความเข้มข้นเฉลี่ยของปรอท (Hg) ในตัวอย่างหินทุกชนิดมีค่าเกินกว่า เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม และมาตรฐานคุณภาพน้ำใน แหล่งน้ำผิวดิน ในส่วนของ ทองแดง (Cu) พบว่ามีเฉพาะหินผนังสายแร่มีค่าเกินมาตรฐานคุณภาพน้ำใน แหล่งน้ำผิวดิน ดังนั้นโลหะหนักที่ควรเฝ้าระวังมากที่สุด คือ ปรอท และสามารถจัดลำดับความสำคัญของ การจัดเก็บดูแลได้ดังนี้ สายแร่ควอตซ์ หินผนังสายแร่ หินท้องที่ และตะกอนดิน ตามลำดับ แต่อย่างไรก็ ตามปริมาณแร่ซัลไฟด์ที่พบในเหมืองแร่ทองคำเขาพนมพาถือว่ามีน้อย เมื่อเทียบกับแหล่งแร่อื่นๆ อีกทั้ง ปริมาณสายแร่ควอตซ์ หินผนังสายแร่ ถือว่ามีน้อยมากเมื่อเทียบกับหินท้องที่ โดยโครงงานวิจัยนี้สามารถ นำไปสู่การวางแผนจัดเก็บหินทิ้งและตะกอนดินจากการทำเหมืองเพื่อป้องกันผลกระทบจากโลหะหนักต่อ สิ่งแวดล้อมในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeThe study on the leaching of heavy metals from rock and sediments, consist of quartz veins, altered wall rocks, volcanic rocks, soil and lateritic soil. The mineralogical study of the sulfide minerals using microscope and Electron Probe Micro- Analyzer (EPMA) indicates that the sulfide minerals contain high quartz veins, medium altered wall rocks and low volcanic rocks. The sulfide minerals have pyrite, pyrrhotite and chalcopyrite, and heavy metals appear to be Cu Zn As Ag Cd Au Hg and Pb. According to Synthetic Precipitation Leaching Procedure (SPLP) method at pH 4 to simulate the worst case scenario using Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (ICP-MS), the results indicated that Hg were leached out exceeding the Industrial Effluent Standards and the Surface Water Quality Standards in all rock type. Cu can leach out exceeding the Surface Water Quality Standards in altered wall rocks. However sulfide minerals be found in Khao Phanom Pha Gold Mine are less than other gold mines. And the quantity of quartz veins and altered wall rocks in this gold mine is a little less than volcanic rocks. These result lead to management and monitoring plan for reducing the environmental problem causing in future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโลหะหนักen_US
dc.subjectการซึมชะละลายen_US
dc.subjectเหมืองและการทำเหมืองทองคำ -- ไทย -- พิจิตรen_US
dc.subjectHeavy metalsen_US
dc.subjectLeachingen_US
dc.subjectGold mines and mining -- Thailand -- Phichiten_US
dc.titleการชะละลายโลหะหนักจากหินและตะกอนดินของเหมืองแร่ทองคำเขาพนมพา อำเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตรen_US
dc.title.alternativeLeaching of heavy metal from rock and sediments from Khao Phanom Pha gold mine, Amphoe Wang Sai Phun, Changwat Phichiten_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorAbhisit.A@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532710023.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.