Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรพันธ์ สุทธิรัตน์-
dc.contributor.authorศุภมงคล โภคาอนนต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.date.accessioned2017-09-13T04:01:27Z-
dc.date.available2017-09-13T04:01:27Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53277-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractลักษณะเฉพาะของสปิเนลสีแดงจากแหล่งโมกก ประเทศเมียนมาร์ จากการศึกษาโดยการใช้เครื่องมือ วิเคราะห์ขั้นพื้นฐานและขั้นสูง 30 ตัวอย่าง ผลวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีกับสปิเนลสีแดงจากประเทศ แทนซาเนีย 13 ตัวอย่าง ภายใต้การศึกษาครั้งนี้แร่มลทินในสปิเนลจากแหล่งโมกก ประเทศเมียนมาร์โดย Raman Spectroscopy ประกอบด้วยผลึกแร่โดโลไมท์ ผลึกแร่แคลไซต์ และผลึกแร่อะพาไทต์ สเปคตรัมการดูดกลืนคลื่น แสง UV-NIR Spectrophotometry พบยอดการดูดกลืนที่ 390±3 นาโนเมตรและ 539±3 นาโนเมตร ซึ่งเป็นผล มาจากธาตุมลทิน Cr 3+ และเป็นสาเหตุให้สปิเนลจากแหล่งดังกล่าวมีสีแดง ค่าดัชนีหักเหของสปิเนลสีแดงจากแหล่งโมกก ประเทศเมียนมาร์และจากประเทศแทนซาเนียมีค่า ใกล้เคียงกัน คือประมาณ 1.718 ± 0.002 การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสปิเนลทั้ง 2 แหล่งโดย EDXRF และ EPMA ได้ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเคมี พบปริมาณออกไซด์ของธาตุองค์ประกอบหลักเหมือนกัน คือ Al2O3 และ MgO แต่มีปริมาณของออกไซด์ของธาตุร่องรอยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ โดยสปิเนลจากแหล่งโม กก จะพบออกไซด์ของธาตุร่องรอย Cr2O3 มากที่สุด (ตามด้วย Fe2O3 และ ZnO) แต่สปิเนลจากประเทศ แทนซาเนียจะพบ ZnO มากที่สุด ตามด้วย Fe2O3 และ Cr2O3 ความแตกต่างนี้สามารถใช้ในการจาแนกสปิเน ลจากทั้ง 2 แหล่งได้อย่างชัดเจนen_US
dc.description.abstractalternativeCharacteristics of thirty red spinels from Mogok deposit, Myanmar were investigated and their chemical compositions were compared with those of thirteen samples of red spinel from Tanzania. Raman spectroscopy indicated that dolomite, calcite and apatite are mineral inclusions in Mogok spinel. UV-Vis-NIR Spectrophotometry indicated the absorption peaks are located at 390±3 and 539±3 nm due to Cr 3+, causing the ‘red’ color in spinels. Refractive indices of spinels from both deposits fail within the same range (1.718 ± 0.002). EPMA and EDXRF analyses yielded similar major compositions of spinels from both deposits (Al2O3 and MgO) Mogok spinels contain a comparatively high amount of Cr2O3 With lower contents of Fe2O3 and ZnO. On the other hand, Tanzanian spinels contain higher ZnO with less amounts of Fe2O3 and Cr2O3en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอัญมณี -- พม่าen_US
dc.subjectJewelry -- Myanmaen_US
dc.subjectSpinel -- Myanmaen_US
dc.titleลักษณะเฉพาะของพลอยสปิเนลสีแดงจากแหล่งโมกก เมียนมาร์en_US
dc.title.alternativeCharacteristics of red spinel from Mogok, Myanmaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorc.sutthirat@gmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532741523.pdf5.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.