Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53326
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุศราศิริ ธนะ-
dc.contributor.authorตะวัน สัญญา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2017-09-19T08:34:26Z-
dc.date.available2017-09-19T08:34:26Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53326-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.description.abstractพายุหมุนเขตร้อนในทุกที่บนโลกมีจำนวนและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นซึ่งพายุหมุนเขตร้อนได้ทำลายทรัพย์สิน ผู้คนไปเป็นจำนวนมาก ในงานวิจัยอันเก่าๆที่ผ่านมาได้มีการแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของค่า power dissipation index (PDI) ซึ่งเป็นตัวหนึ่งที่บอกค่าความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนได้ PDI ได้ใช้ค่าความเร็วลมสูงสุดเป็นตัวนำมาใช้คำนวณกับสมการ ในการศึกษาพบว่าค่า PDI มีค่าเพิ่มขึ้นในบริเวณตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติกและทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกและยังพบการเพิ่มขึ้นของจำนวน ความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนที่ขึ้นไปถึงระดับไต้ฝุ่นระดับ 4 และ 5 มีจำนวนเพิ่มขึ้น Emanuel ได้ศึกษาความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนกับอุณหภูมิน้ำทะเลบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกในช่วงปี 1975-2004 เป็นระยะเวลา 30 ปี พบว่ามีแค่บริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือมีแนวโน้มของ PDI เพิ่มขึ้น ในบริเวณที่ผู้วิจัยศึกษาเป็นบริเวณอ่าวไทย ทะเลจีนใต้และอ่าวตังเกี๋ย โดยใช้ค่า PDI มาช่วยในการศึกษา ในปี 1981-2011 เป็นระยะเวลา 31 ปี จากการศึกษาพบว่าแนวโน้มของค่า PDI จะแปรผันกับอุณหภูมิที่ 27-30 C ความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนจะมีค่าสูงขึ้นแต่จำนวนของพายุหมุนเขตร้อนลดลงen_US
dc.description.abstractalternativeThe tropical cyclone in all basins around the world has been increasing numbers and intensity. The tropical storm damage life of people. The previous studies have been shown that the trend in the power dissipation index (PDI) in the North Atlantic (NA) and Western North Pacific (WNP) basins and increases in the number and proportion of intense typhoon (categories4 and 5) in all basins. The contradiction result studied by Emanuel (2005) showed the increasing destructive tropical sea surface temperature (SST) over the past 30 years. Datasets have been used by historical track from year 1975 to 2004. The result PDI trend upward only NA basin. In this study, the tropical cyclone tracks were selected in the boundary of the South China Sea region where the gulf of Thailand is located. The power dissipation index (PDI) in same period is calculated. The trend of intensity of tropical cyclone increase from year 1981 to 2011. The trend of PDI is not clear; it depends on sea surface temperature. The PDI correlated to SST when the SST is values between 27 and 30 degree C. The trend of SST in 1981 to 2011 is increasing, but the numbers of intense typhoon is decreasing. In the future, the intense typhoon in this area could be decrease and SST could increase. The further analysis of correlation among SST and PDI which related to the intensity of tropical cyclone will be studied.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไซโคลน -- ไทยen_US
dc.subjectอุณหภูมิมหาสมุทร -- ไทยen_US
dc.subjectCyclones -- Thailanden_US
dc.subjectOcean temperature -- Thailanden_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนที่เข้าสู่ประเทศไทยกับอุณหภูมิผิวน้ำทะเล บริเวณอ่าวไทย ทะเลจีนใต้ และอ่าวตังเกี๋ยen_US
dc.title.alternativeThe relationship between intensity of tropical cyclone which passed over Thailand and sea surface temperature in gulf of Thailand, South China sea and gulf of Tonkinen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorboossara@geo.sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
report_TAWAN SANYA.PDF1.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.