Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53344
Title: Structural geology of the Uthai Thani limestone ridge within the Chainat duplex, Thailand
Other Titles: ธรณีวิทยาโครงสร้างของแนวสันเขาปูนอุทัยธานี บริเวณชัยนาทดูเพลค ประเทศไทย
Authors: Pornchanok Chindamanee
Email: pchindamanee@gmail.com
Advisors: Pitsanupong Kanjanapayont
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: pitsanupong.k@hotmail.com
Subjects: Mountains -- Thailand -- Uthai Thani
Geology, Structural
Geology, Structural -- Thailand -- Uthai Thani
ภูเขา -- ไทย -- อุทัยธานี
ธรณีวิทยาโครงสร้าง
ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- อุทัยธานี
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Uthai Thani limestone ridge, which is located in Changwat Uthai Thani, lies in N-S direction on the central plane of Thailand. It is a southwestern part of Chainat duplex. Below the Mae Ping fault zone. This ridge is a part of Uthai Thani limestone. It is consist of Permian limestone. The evidences of macroscopic, mesoscopic and microscopic scales can be combined for the structural style of the Uthai Thani limestone ridge. Remote sensing interpretation show major lineament trends to N-S composite and minor NE-SW and ENE-WSW that conform to bed, fault, fracture and joint. The limestone was developed by sinistral ductile shear motion that was shown by sigmoid texture in calcite and chert nodule with strain shadow in outcrops and thinsection. Deformation of limestone widely spread which shown by stylolites, kink bands, the recrystallisation of twin boundary migration and bulging (BLG) recrystallisation. The temperature gauge of calcite twin geometry indicates temperatures at above 200 oC. In part of brittle deformation, dip slip fault was found and related with tend of bedding. All of characteristic of structural geology fit with the flexural slip and flexural shear fold models and the sinistral shear relates with the Chainat duplex and the Mae Ping fault zone during Tertiary.
Other Abstract: สันเขาหินปูนอุทัยธานีตั้งอยู่ในเขตจังหวัดอุทันธานี โดยจะวางตัวอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ และโดดเด่นขึ้นมาในบริเวณที่ราบภาคกลาง ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของพื้นที่ชัยนาทดูเพลคในแนวรอยเลื่อนแม่ปิง ลักษณะทางธรณีวิทยาของสันเขาดังกล่าวประกอบด้วยกลุ่มหินปูนอายุเพอร์เมียน และเป็นส่วนหนึ่งของหินปูนอุทัยธานี การศึกษาและวิเคราะห์ร่วมกันในระดับมหภาค มัจฉิมภาค และจุลภาค สามารถอธิบายลักษณะพฤติกรรมและธรณีโครงสร้างของสันเขาหินปูนอุทันธานีได้ โครงสร้างเส้นหลักจากการแปรภาพถ่ายดาวเทียม อยู่ในแนวเหนือใต้ซึ่งสัมพันธ์กับแนวการวางตัวของชั้นหินและรอยเลื่อน และโครงสร้างเส้นรองอยู่ในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ และในแนวเกือบเหนือ-ใต้ ซึ่งสัมพันธ์กับแนวการวางตัวของแนวแตก และรอยแยกในพื้นที่ศึกษา หลักฐานภาคสนามบงชี้ หินในพื้นที่ศึกษามีการบิดเบี้ยวและมีการแปรสภาพบางส่วนภายใต้การเฉือนแบบยืดเคลื่อนที่ทวนเข็มนาฬิกา (sinistral ductile shear) ซึ่งสังเกตได้จากลักษณะแร่แคลไซต์ และกระเปราะเชิตร์ ที่มีเขตเงาความเครียด (strain shadow) ทั้งในแนวหินโผล่และภายใต้กล้องจุลทรรศน์ การเปลี่ยนแปลงลักษณะของหินปูนพบได้โดยทั่วไปในพื้นที่ โดยสังเกตได้จาก stylolites, kink bands, twin boundary migration และ bulging (BLG). การบอกอุณหภูมิของการเปลี่ยนแปลงบอกได้จากลักษณะรูปร่างของของผลึกแฝดของแร่แคลไซต์ที่พบจากการศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ โดยมีอุณหภูมิมากกว่า 200 oC การเปลี่ยนแปลงแบบแตกเปราะ (brittle deformation) พบว่ามีการเคลื่อนที่ในแนวระดับที่สัมพันธ์กับแนวการวางตัวของชั้นหิน จากลักษณะพฤติกรรมและธรณีโครงสร้างของสันเขาหินปูนอุทันธานีทั้งหมดที่พบสอดคล้องกับแบบจำลองของชั้นหินคดโค้ง (Fold) ที่เป็นแบบผสมของ flexural slip และ flexural shear fold ร่วมกัน และการเฉือนแบบอ่อนนิ่มเคลื่อนที่ทวนเข็มนาฬิกาสัมพันธ์กับชัยนาทดูเพลค และแนวรอยเลื่อนแม่ปิงในระว่างช่วงอายุเทอร์เทียรี
Description: A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2011
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53344
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
report_Pornchanok Chindamanee.pdf9.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.