Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีเลิศ โชติพันธรัตน์-
dc.contributor.authorธีร์ธวัช ลาภส่งผล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialเพชรบุรี-
dc.date.accessioned2017-09-27T09:13:41Z-
dc.date.available2017-09-27T09:13:41Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53362-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractน้ำบาดาลเป็นแหล่งน้ำสำคัญที่คนไทยในหลายภูมิภาคใช้เพื่อการอุปโภค-บริโภค-เพื่อการเกษตร และใช้ในด้านอุตสาหกรรม โดยจากข้อมูลของกรมน้ำบาดาลพบว่าความต้องการใช้น้ำบาดาลมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต จึงต้องมีการบริหารจัดการน้ำบาดาลอย่างเป็นระบบเพื่อให้สามารถใช้น้ำบาดาลได้อย่างยั่งยืนและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยการที่จะบริหารจัดการน้ำบาดาลย่อมต้องทราบถึงข้อมูลทางวิชาการด้านน้ำบาดาลในพื้นที่นั้นๆ อาทิเช่น ปริมาณน้ำที่จะเติมลงชั้นน้ำบาดาล ซึ่งหากสามารถประเมินปริมาณน้ำที่เติมลงสู่ชั้นน้ำบาดาลได้ก็สามารถกำหนดปริมาณการใช้น้ำบาดาลได้อย่างเหมาะสม งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการประเมินปริมาณน้ำที่เติมลงชั้นน้ำบาดาลด้วยวิธีการวัดค่าสัมประสิทธิ์การเติมน้ำโดยได้ทำการออกภาคสนามเก็บตัวอย่างดินและวัดค่าการซึมหลังจากนั้นจำแนกชนิดของดินเพื่อนำมาคำนวณหาค่าสภาพการนำชลศาสตร์และนำค่าสภาพการนำชลศาสตร์มาวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์การเติมน้ำ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าค่าสัมประสิทธิ์การเติมน้าหรือเปอร์เซนต์ของปริมาณน้ำผิวดินที่จะซึมสู่ชั้นน้ำบาดาลและมีความสัมพันธ์กับสภาพการนำชลศาสตร์ของดินในพื้นที่ พื้นที่ศึกษาของงานวิจัยนี้ตั้งอยู่ในตำบลสามพระยา-ตำบลห้วยทรายเหนือและตำบลไร่ใหม่พัฒนา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี จากการจำแนกชนิดของดินพบว่าเนื้อดินส่วนใหญ่มีตะกอนทรายเป็นส่วนประกอบหลักและจากการวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์การเติมน้ำพบว่ามีค่าตั้งแต่ 45% ขึ้นไป และมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 59% นอกจากนี้จากการประเมินความถูกต้องโดยตรวจสอบระดับน้ำที่เติมลงชั้นน้ำบาดาลด้วยค่าสัมประสิทธิ์การเติมน้ำในช่วง สิงหาคม พ.ศ 2554.– พฤศจิกายน พ.ศ 2555 และ พฤศจิกายน พ.ศ. 2555.– ตุลาคม พ.ศ 2556 พบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 93.5 และ 67.6 มิลลิเมตรตามลำดับ หรือคิดเป็น 8.22% และ8.35% ของปริมาณฝนทั้งหมดที่ตกในช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาที่ผ่านมาที่พบว่าปริมาณน้ำที่เติมลงสู่ชั้นน้ำบาดาลในแต่ละลุ่มน้ำของประเทศไทยมีค่าเฉลี่ยไม่เกิน 12% ของปริมาณฝนทั้งหมดen_US
dc.description.abstractalternativeIn Thailand ground water plays an important role in some areas where there is lack of water supply. From the annual report of using ground water in Thailand shows that the demand of ground water has been increasing due to population growth and economic development. So, ground water management is needed. The amount of ground water recharge is one of an important components used for ground water management. The objectives of this study are to estimate groundwater recharge by recharge coefficient method and finally establish recharge coefficient map in Huaysai Royal Development Study Center and adjacent areas, Amphoe Cha-Am, Changwat Phetchaburi. Recharge coefficient in this study can be estimated by calculating the hydraulic conductivity using mini-disk infiltrometer and then derived recharge coefficient by using the relationship between hydraulic conductivity and recharge coefficient. The results revealed that the recharge coefficient ranged from 45% to 59% since soils in study area mainly composes of sand sediment. According to estimation mean groundwater recharge by using recharge coefficient between August 2011- November 2012 and November 2012- October 2013 are equal 93.5 and 67.7 mm. or 8.22% and 8.35% of total rainfall, respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- เพชรบุรีen_US
dc.subjectน้ำบาดาล -- ไทย -- เพชรบุรีen_US
dc.subjectชลศาสตร์ -- ไทย -- เพชรบุรีen_US
dc.subjectAquifers -- Thailand -- Phetchaburien_US
dc.subjectGroundwater -- Thailand -- Phetchaburien_US
dc.subjectHydrodynamics -- Thailand -- Phetchaburien_US
dc.titleการประเมินค่าสัมประสิทธิ์การเติมน้ำลงสู่ชั้นน้ำบาดาลบริเวณศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริและบริเวณใกล้เคียงอำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรีen_US
dc.title.alternativeEvaluation of groundwater recharge coefficient in Huay Sai royal development study center and adjacent areas, Amphoe Cha-am, Changwat Phetchaburien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorlertc77@yahoo.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332716723 ธีร์ธวัช ลาภส่งผล.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.