Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53370
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐาสิณีย์ เจริญฐิติรัตน์-
dc.contributor.authorภูวน ชัยขจรวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialอุบลราชธานี-
dc.date.accessioned2017-09-28T08:52:08Z-
dc.date.available2017-09-28T08:52:08Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53370-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractสามพันโบกจังหวัดอุบลราชธานี เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงจากความสวยงามของกุมภลักษณ์ และเป็นพื้นที่ที่น่าสนใจทั้งด้านการท่องเที่ยวและการศึกษาทางธรณีวิทยา โดยหินบริเวณนี้จัดอยู่ในหมวด หินภูพาน ของกลุ่มหินโคราช วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อทราบถึงลำดับชั้นหินทางกายภาพ ทิศทางการ ไหลของกระแสน้ำบรรพกาลและปัจจัยการเกิดกุมภลักษณ์ โดยเก็บข้อมูลโทรสัมผัส ตัวอย่างหินและ โครงสร้างหินตะกอนในพื้นที่ศึกษา พบว่าสามพันโบกเป็นหินแข็งที่ตั้งอยู่บริเวณหัวโค้งน้ำส่วนนอกของ แม่น้ำโขง มีลักษณะทางกายภาพของหินเป็นหินทรายปนกรวดสลับกับหินทรายปนกรวดเนื้อไมกา สีขาว ขนาดเม็ดตะกอนปานกลางถึงหยาบมาก การคัดขนาดไม่ดี ความเป็นทรงกลมและกลมมนปานกลางถึงดี และมีโครงสร้างหินตะกอนเป็นแบบชั้นเฉียงระดับ มีการคัดขนาดตะกอนแบบปกติ (Normal grading) และการคัดขนาดตะกอนแบบไม่ปกติ (Reverse grading) ชั้นหินมีการวางตัวในแนวเกือบระนาบ มีการ พัฒนาของแนวรอยแตกหลักในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ ผลจากการศึกษาพบว่าพื้นที่ ศึกษามีสภาพแวดล้อมการสะสมตะกอนแบบทางน้ำประสานสาย มีทิศทางการไหลของกระแสน้ำบรรพ กาลจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ไปยังทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และสามารถแบ่งรูปแบบกุมภลักษณ์ได้เป็น 4 รูปแบบ คือ กุมภลักษณ์แบบปกติ แนวเส้นตรง แบบซ้ำซ้อน และแบบฝาแฝด โดยปัจจัยการเกิดขึ้นกับ ลักษณะทางธรณีวิทยาโครงสร้าง การวางตัวของชั้นหินและระยะเวลาของการกัดเซาะที่ต่างกันen_US
dc.description.abstractalternativeSpectacular potholes at Sam Phan Bok located in Changwat Ubon Ratchathani, is an attractive place for sight-seeing and geology. Rock that formed potholes are grouped as the Phu Phan Formation of Khorat Group. The aims of this project are to study lithostratigraphy, paleocurrent analysis and pothole's pattern forming based on remote sensing information and field investigation. Geomorphologically, the study area located in the cut bank of Mekong River. The sedimentary rocks consist of white pebbly sandstone and white pebbly micaceous sandstone, medium to very coarse-grained sandstone which are poorly sorted and moderate to high sphericity and roundness. Many sedimentary structures such as cross-bedding, normal grading and reverse grading were observed and analyzed in order to get the direction of paleocurrent. The strata are mostly sub-horizontal beds which contain major joint in NW-SE direction. The result reveals that deposition environment was in braided stream system and the direction of the paleocurrent ran SE to NW. The pattern of pothole can be divided into 4 types based on their shapes: common, linear, multiple and twin potholes. All patterns have been controlled by the attitude of bedding, structure and timing of erosionen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสามพันโบก (อุบลราชธานี)en_US
dc.subjectกุมภลักษณ์ -- ไทย -- อุบลราชธานีen_US
dc.subjectหินทราย -- ไทย -- อุบลราชธานีen_US
dc.subjectกระแสน้ำบรรพกาลen_US
dc.subjectSam Phan Bok (Ubonratchathani)en_US
dc.subjectPotholes -- Thailand -- Ubonratchathanien_US
dc.subjectSandstone -- Thailand -- Ubonratchathanien_US
dc.subjectPaleocurrentsen_US
dc.titleลำดับชั้นหินทางกายภาพและการวิเคราะห์กระแสน้ำบรรพกาลของหมวดหินภูพาน บริเวณสามพันโบก จังหวัดอุบลราชธานีen_US
dc.title.alternativeLithostratigraphy and paleocurrent analysis of Phu Phan formation in Sam Phan Bok Changwat Ubon Ratchathanien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorthasineec@gmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332726023 ภูวน ชัยขจรวัฒน์.pdf4.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.