Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53376
Title: Effects of dental radiation on the expression of apoptotic-related gene in primary human bone cells
Other Titles: ผลของรังสีทันตกรรมต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการขจัดตัวเองของเซลล์ในเซลล์เพาะเลี้ยงจากกระดูกของมนุษย์
Authors: Sakarat Pramojanee
Advisors: Soontra Punmekiate
Prasit Pavasant
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
Advisor's Email: psoontra@chula.ac.th
prasitpav@hotmail.com
Subjects: Apoptosis
Cell, Cultured
Bone Marrow Cells
Humans
Gene Expression
Radiography, Dental
Radiography, Medical
Bone cells
X-rays -- Physiological effect
การบันทึกภาพด้วยรังสีทางการแพทย์
เซลล์กระดูก
รังสีเอกซ์ -- ผลกระทบทางสรีรวิทยา
Issue Date: 2008
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Exposure to 1 milligray ionizing radiation could induce DNA lesions probably leading to cell death through apoptotic process. Thus, performing dental radiography in a milligray range might be dangerous to human bone cells. The purpose of this study was to investigate the effects of dental radiation on the expression of apoptotic-related gene in primary human bone cells. Human bone cells were grown in 15% DMEM and irradiated with 0, 1, 2 doses of a periapical radiograph. The cytotoxicity of irradiation was investigated by MTT assay after 24 hours. The level of apoptotic-related gene expression (Bcl-2, Bax, Bad, Bcl-XL, Caspase-3) was analyzed by RT-PCR assay, four hours post irradiation No cytotoxicity was observed at 24 hours after dental irradiation. Interestingly, most of the results demonstrated a decrease of apoptotic-related gene expression at 4 hours after dental irradiation. Only Bax and Caspase-3 were significantly decreased compared to the control. In conclusion, dental radiation affects apoptotic-related gene expression. Therefore, prescribing dental radiograph should be highly selective and the principle of ALARA (As Low As Reasonably Achievable) should be followed.
Other Abstract: รังสีปริมาณ 1 มิลลิเกรย์สามารถสร้างความเสียหายต่อดีเอ็นเอภายในนิวเคลียสซึ่งมีโอกาสนำไปสู่การตายของเซลล์ผ่านขบวนการขจัดตัวเองของเซลล์ได้ ดังนั้นการถ่ายภาพรังสีทางทันตกรรมซึ่งมีปริมาณรังสีในระดับมิลลิเกรย์อาจเป็นอันตรายต่อเซลล์กระดูกของมนุษย์ได้ วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษาผลของรังสีทันตกรรมต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการขจัดตัวเองของเซลล์ในเซลล์เพาะเลี้ยงจากกระดูกของมนุษย เซลล์กระดูกได้รับการเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเซลล์ดีเอ็มอีเอ็มที่มีซีรัมร้อยละ 15 เซลล์ได้รับการฉายรังสีในปริมาณ 0, 1, 2 เท่าของปริมาณรังสีที่ใช้ในการถ่ายภาพรังสีชนิดรอบปลายราก ตรวจสอบอันตรายจากรังสีต่อเซลล์กระดูกโดยวิธีเอ็มทีทีภายหลังการฉายรังสี 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ปริมาณการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการขจัดตัวเองของเซลล ได้แก่ บีซีแอลท แบกซ์ แบด บีซีแอลเอ็กซ์แอล คาสเปสทรี โดยวิธีอาร์ทีพีซีอาร์ ภายหลังการฉายรังสี 4 ชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่ารังสีทันตกรรมไม่มีอันตรายต่อเซลล์เพาะเลี้ยงจากกระดูกของมนุษย์ที่เวลา 24 ชั่วโมงหลังการฉายรังสี ผลการศึกษาส่วนใหญ่พบการลดลงของการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการขจัดตัวเองของเซลล์หลังการฉายรังสี 4 ชั่วโมง โดยพบว่ามีเพียงยีนแบกซ์และคาสเปสทรีที่มีการแสดงออกลดลงอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม โดยสรุปรังสีทันตกรรมมีผลต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการขจัดตัวเองของเซลล์ ดังนั้นการสั่งถ่ายภาพรังสีทางทันตกรรมควรคำนึงถึงความจำเป็นโดยยึดหลักให้ผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
Description: Thesis (M.Sc)--Chulalongkorn University, 2008
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Oral and Maxillofacial Surgery
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53376
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1761
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2008.1761
Type: Thesis
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sakarat_pr_front.pdf972.24 kBAdobe PDFView/Open
sakarat_pr_ch1.pdf488.81 kBAdobe PDFView/Open
sakarat_pr_ch2.pdf3.34 MBAdobe PDFView/Open
sakarat_pr_ch3.pdf558.81 kBAdobe PDFView/Open
sakarat_pr_ch4.pdf846.65 kBAdobe PDFView/Open
sakarat_pr_ch5.pdf471.04 kBAdobe PDFView/Open
sakarat_pr_back.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.