Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55272
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิปัทม์ พิชญโยธิน-
dc.contributor.authorเบญจรัตน์ จงจำรัสพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:34:23Z-
dc.date.available2017-10-30T04:34:23Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55272-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหวังและสุขภาวะองค์รวม โดยมีความเพียรและความเครียดเป็นตัวแปรกำกับ โดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบลำดับขั้น (Hierarchical Multiple Regression Analysis) กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาและนักเรียนปวส. อายุ 18- 22 ปี (M = 19.80, SD = 1.15) จำนวน 300 คน กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับสุขภาวะองค์รวม ความหวัง การรับรู้ความเครียด และความเพียร ผลการวิจัยพบว่า ความหวังและสุขภาวะองค์รวมมีความสัมพันธ์ทางบวก โดยมีความเพียรและความเครียดเป็นตัวแปรกำกับ (β = .09, p < .05) และเมื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์การกำกับของความเพียรและความเครียดในความสัมพันธ์ระหว่างความหวังและสุขภาวะองค์รวม พบว่า บุคคลที่มีความเพียรอยู่ในระดับสูง ไม่ว่าจะมีความเครียดอยู่ในระดับใด จะรับรู้ว่าตนเองมีความหวังและสุขภาวะองค์รวมสูงกว่าเมื่อเทียบกับบุคคลที่มีความเพียรอยู่ในระดับกลางและระดับต่ำ จากผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ความเพียรมีความสำคัญในการลดผลทางลบของความเครียดและมีแนวโน้มที่จะช่วยให้บุคคลที่มีความหวัง รู้ถึงเป้าหมายของตนเอง และมีแนวโน้มที่จะมีสุขภาวะองค์รวมที่ดี-
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study was to investigate the relations between hope and flourish and to examine the moderating roles of grit and stress, using hierarchical multiple regression analysis. The participants were 18 -22 years old undergraduate and vocational students (M = 19.80, SD = 1.15). Three hundred participants completed the measurements included questions about flourish, hope, perceive stress, and grit. It was found that grit and stress significantly moderated the relations between hope and flourish (β =.09, p < .05). Students who had high scores on grit, in any level of stress, were more likely to have high scores on hope and flourish, compared to those who had moderate and low scores on grit. The findings from this study suggested that students with grit could tolerate the negative effect of stress. Hence, they were more likely to have hope to pursue towards their goals with perceptions of flourish.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.298-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความหวังและสุขภาวะองค์รวม โดยมีความเพียรและความเครียดเป็นตัวแปรกำกับ-
dc.title.alternativeTHE ASSOCIATION BETWEEN HOPE AND FLOURISH : THE MODERATING ROLES OF GRIT AND STRESS-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorNpichaya.bock@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.298-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5877617138.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.