Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56652
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมศักดิ์ ปัญหา | - |
dc.contributor.author | เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ | - |
dc.contributor.author | ศานิต ปิยพัฒนาการ | - |
dc.contributor.author | จิรศักดิ์ สุจริต | - |
dc.contributor.author | ปิโยรส ทองเกิด | - |
dc.contributor.author | อัมพร วิเวกแว่ว | - |
dc.contributor.author | ผ่องพรรณ ประสารกก | - |
dc.contributor.author | บังอร กองอิ้ม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-01-03T01:41:10Z | - |
dc.date.available | 2018-01-03T01:41:10Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56652 | - |
dc.description.abstract | เป็นที่ชัดเจนว่าสัตว์จำพวกหอยมีความสำคัญต่อมนุษย์ในด้านต่าง ๆ มากมาย ทั้งในฐานะที่เป็นผู้บริโภค สัตว์จำพวกหอยยังช่วยทำให้เกิดความสมดุลของ พืช เห็ดรา และไลเคนในระบบนิเวศธรรมชาติ และในบทบาทของนักล่าก็สัตว์จำพวกหอยยังช่วยควบคุมไม่ให้มีประชากรของสัตว์บางกลุ่มมีมากจนเกินไปทั้งในระบบนิเวศบก น้ำจืด และทะเล จะเห็นว่าสัตว์จำพวกหอยมีความสัมพันธุ์ที่ใกล้ชิดกับมนุษย์อย่างมากทั้งในทางวัฒนธรรม ศาสนา และเศรษฐกิจ และยังจัดเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญอีกด้วย หน่วยงานย่อย IUCN ด้านความหลากหลายของสัตว์จำพวกหอย และคณะผู้เชี่ยวชาญด้านความหลากหลายของหอย (SSC) ได้การประเมินสถานภาพด้านความหลากสปีชีส์ของหอยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ซึ่งที่ผ่านมาผลการประเมินสถานภาพของหอยน้ำจืดและพืชน้ำบางกลุ่มได้สำเร็จลุล่วง งานนี้จัดว่าเป็นการประเมินสถานภาพของสัตว์จำพวกหอยอย่างจริงจับเป็นครั้งแรก โดยได้รับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญของหน่วยงานต่าง ๆ แต่อย่างไรก็ตามการประเมินสถานภาพครั้งนี้ไม่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติจากประเทศไทยร่วมในครั้งนี้ด้วย มีการประมาณความหลากสปีชีส์ของสัตว์จำพวกหอยจากประเทศไทยอยู่ 250,000 สปีชีส์ แต่ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่าประเทศไทยอาจจะมีจำนวนสปีชีส์ของสัตว์จำนวพหอยได้มากกว่าถึง 2 เท่า แต่ความเป็นจริงสิ่งที่รับทราบเกี่ยวนั้นมีน้อยกว่าร้อยละ 20 ซึ่งเป็นการบ่งชี้ว่ามีความจำเป็นและสำคัญที่เกี่ยวกับงานความรู้พื้นฐานต่าง ๆ ก่อนที่สัตว์เหล่านี้จะสูญพันธุ์ หรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาโดยชาวต่างชาติอย่างเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้จึงมุ่งเน้นที่จะสร้างงานวิจัยพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสัตว์จำพวกหอย พร้อมทั้งการจัดการฐานข้อมูลสำหรับสร้างโมโนกราฟของสัตว์จำพวกหอยของประเทศไทยและการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศการวิจัยทางด้านหอยของภูมิภาค | en_US |
dc.description.abstractalternative | It is clear that mollusks are benefit to humans. As eaters of plants and detritus, they keep algae, fungi, lichens and seedlings in ecological balance. As predators they also prevent overpopulation of the soil by worms, insects and larvae, and overpopulation of the sea and rivers by other molluscs. Molluscs have been closely linked with humanking; in cultural, religious and economic terms, and have always been a valuable source of food. The IUCN Mollusc Biodiversity Program and the SSC Mollusc Specialist Group have been assessing the conservation status of various regional molluscan faunas over the last 5 years. In 2010 two major were completed enabling a review of the freshwater molluscs, and selected plant groups. These form the first comprehensive overviews of the status of these faunas. Various tools have also been developed to assist local communities assess and manage their habitat resources. However there’s still almost no any initiative actions on Thai mollusk fauna. There are approximately 250,000 mollusc species reported in Thailand but specialist estimate that number should exceed to double or more than that. Beside the known species, less than 20 species, which indicated that we need to work intensively before some go extinction or be assessed by people from outside our country. This research was emphasized on reforming the fundamental knowledge creation on Thai mollusk, and produced the monograph on Thai molluscs for basic knowledge on landsnails of Thai people. And we also expected to initiate National Mollusc Research Center. | en_US |
dc.description.budget | โครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | หอย -- ไทย | en_US |
dc.subject | หอย -- การใช้รักษา -- ไทย | en_US |
dc.subject | หอย -- แง่เศรษฐกิจ -- ไทย | en_US |
dc.subject | หอย -- แง่สังคม -- ไทย | en_US |
dc.subject | Mollusks -- Thailand | en_US |
dc.subject | Mollusks -- Therapeutic use -- Thailand | en_US |
dc.subject | Mollusks -- Economic aspects -- Thailand | en_US |
dc.subject | Mollusks -- Social aspects -- Thailand | en_US |
dc.title | การวิจัยหอยครบวงจร : บทบาทสำคัญทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ เศรษฐกิจและวัฒนธรรม : I. โมโนกราฟของหอยไทย | en_US |
dc.title.alternative | The Overall Research on Molluscs: Their Significant for Science, medicine, Economic and culture: I. Monographic Works of Thai Molluscs | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | Somsak.Pan@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | paderm@sc.chula.ac.th, Padermsak.J@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | Chirasak.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Piyoros.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | b.kongim@msu.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somsak_pa.pdf | 5.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.