Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56802
Title: Identification of receptors for H5N1 virus on human nerve cells using protromics-based approaches
Other Titles: การวิเคราะห์โปรตีนตัวรับของเชื้อไวรัส H5N1 บนผิวเซลล์ประสาทของคนโดยใช้เทคนิคทางโปรติโอมิกส์ : รายงานวิจัย
Authors: Poonlarp Cheepsunthorn
Yong Poovorawan
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Medicine
Subjects: Influenza A virus
H5N1 influenza
Proteomics
Viruses -- Receptors
Proteins -- Receptors
ไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ
ไข้หวัดใหญ่เอช 5 เอ็น 1
โปรตีโอมิกส์
ไวรัส -- ตัวรับ
โปรตีน -- ตัวรับ
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: In this study, we investigated neuroinfectious capacity of H5N1 (A/Thailand/NK165/2005) isolated from plasma of infected individual during the third wave of Thailand outbreaks using human neuroblastoma SH-SY5Y cells. This was due to lack of information regarding neuroinfectivity of this variant. Results demonstrated that H5N1/NK165 induced servere CPEs in these neuronal cells. H5N1-specific hemagglutinin was found in the cytoplasm of the infected cells as early as 12 h post-infection. By 24 h post-infection, all cells in the cultures were infected. These findings coincided with time course of CPEs and the presence of virus progeny in the culture medium of infected cells. Virus titer increased exponentially overtime. After 24 h post-infection, viability of the infected cell began to decline. By 72 h, only cellular debris remained in the infected cultures. Moreover, with this isolate we identified host cell proteins that might be involved in H5N1 entry to nerve cells using 1D-VOPBA coupled with LC-MS/MS analysis. RACK1 and prohibitin were identified as potential receptor for H5N1. Expression of RACK1 and prohibitin was confirmed by western blot analysis. There was a significant decrease in Expression of RACK1 and prohibitin preteins compared with mock-infected cells, suggesting that both RACK1 and prohibitin might be involved in the initial step of H5N1 binding to the neuronal cell membrane and/or internalization. Further studies are needed to explore whether both RACK1 and prohibitin are actual receptors for H5N1. This will ultimatel lead to improved therapeutics and provide an insight into neuronal mechanism of H5N1 infection.
Other Abstract: ในการศึกษาครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความสามารถในการติดเชื้อไวรัส H5N1 สายพันธุ์ A/Thailand/ NK165/2005 ในเซลล์ประสาท SH-SY5Y โดยที่ไวรัสสายพันธุ์นี้ถูกแยกมาจากพลาสมาของผู้ป่วยติดเชื้อในช่วงที่มีการระบาดระลอกที่สามในประเทศไทย เนื่องจากจนถึงปัจจุบันยังไม่มีรายงานถึงความสามารถในการติดเชื้อของไวรัสสายพันธุ์นี้ในระบบประสาทของคน ผลการศึกษาพบว่าการติดเชื้อไวรัส NK165 ทำให้เซลล์ประสาทคนมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปจากเดิม (CPEs) สามารถตรวจพบ hemagglutinin ที่จำเพาะต่อ H5N1 ในบางเซลล์หลังจากได้รับเชื้อไปแล้ว 12 ชั่วโมง ภายในเวลา 24 ชั่วโมง ทุกเซลล์จะติดเชื้อหมด ผลที่ได้สอดคล้องกับลำดับการเกิด CPEs และประมาณไวรัสที่ถูกผลิตออกมาจากเซลล์ที่ติดเชื้อ ภายในเวลา 72 ชั่วโมง เซลล์ที่ติดเชื้อจะถูกทำลายจนหมด นอกจากนี้ คณะผู้วิจัยได้ใช้ไวรัสสายพันธุ์ดังกล่าวในการวิเคราะห์หาโปรตีนตัวรับของไวรัส H5N1 บนผิวเซลล์ประสาทโดยใช้เทคนิค 1D-VOPBA ควบคู่ไปกับการวิเคราะห์ผลโดยใช้เครื่อง LC-MS/MS โดยพบว่า RACK1 และ prohibitin เป็นโปรตีนที่มีการแสดงออกจริงในเซลล์ประสาทที่ใช้ศึกษาและการแสดงออกของโปรตีนทั้งสองตัวนี้จะลดลงหลังจากที่เกิดการติดเชื้อ จึงเป็นไปได้ว่า RAK1 และ prohibitin อาจจะเป็นโปรตีนที่จับกับไวรัสและมีส่วนร่วมในการข้าวของไวรัสสู่เซลล์ประสาท อย่างไรก็ตามยังคงต้องมีการศึกษาในเชิงลึกเพื่อยืนยันบทบาทดังกล่าวของโปรตีนทั้งสองตัวนี้ต่อไป ซึ่งผลของการศึกษาที่ได้จะทำให้เกิดความเข้าใจในเชิงลึกต่อการติดเชื้อไวรัส H5N1 ในระบบประสาทและอาจนำไปสู่การพัฒนาการวิธีป้องกันและรักษาการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ในระบบประสาทของคนต่อไป
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56802
Type: Technical Report
Appears in Collections:Med - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Poonlarp_ch_016737.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.