Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58526
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.date.accessioned2018-04-17T04:19:35Z-
dc.date.available2018-04-17T04:19:35Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58526-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งเน้นประเมินการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหวที่มีนัยสำคัญต่อการเกิด แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ตามมาในภายหลัง บริเวณรอยเลื่อนสะกาย ตอนกลางประเทศพม่า โดยใช้เทคนิคค่า Z ซึ่งหลังจากปรับปรุงคุณภาพฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีอยู่ พบว่าในบริเวณพื้นที่ศึกษามี เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด > 3.5 ริกเตอร์ จำนวน 3,781 เหตุการณ์ ที่มีความสมบูรณ์และสื่อถึง พฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวจากธรณีแปรสัณฐานอย่างแท้จริง และเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ ระหว่างค่า Z กับแผ่นดินไหวใหญ่ที่เกิดตามมา ผู้วิจัยได้คัดเลือกแผ่นดินไหวขนาด > 6.0 ริกเตอร์ที่ เคยเกิดขึ้นในอดีตจากรอยเลื่อนสะกาย จำนวน 8 เหตุการณ์เป็นกรณีศึกษาในการปรับเทียบตัวแปร อิสระที่เหมาะสมกับพื้นที่ศึกษา ผลการทดสอบบ่งชี้ว่าหากใช้ตัวแปรจำนวนแผ่นดินไหว N = 25 เหตุการณ์ และช่วงเวลาใน การพิจารณา T = 2 ปี จะพบค่า Z ที่สูงอย่างมีนัยสำคัญก่อนเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ดังกล่าว และจาก การประยุกต์ตัวแปรอิสระที่สรุปข้างต้นกับฐานข้อมูลแผ่นดินไหวล่าสุดที่มีอยู่จนถึงปัจจุบัน (1995- 2015) พบว่ารอยเลื่อนสะกายมีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว 2 พื้นที่ ได้แก่ตอนเหนือใกล้เมือง เมืองมิตจีนา (Myitkyina) (Z=8.0) และทางตอนกลางของรอยเลื่อนสะกายบริเวณเมืองเนปิดอว์ (Naypyidaw) (Z=9.0) ดังนั้นจากงานวิจัยนี้จึงสรุปได้ว่ารอยเลื่อนสะกายในบริเวณใกล้เมืองมิตจีนา และเนปิดอว์มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวใหญ่อีกในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeIn this study, the seismicity rate changes that represent an earthquake precursor were investigated along the Sagaing Fault Zone (SFZ), Central Myanmar using the Z-value technique. After statistical improvement of existing seismicity data (the instrumental earthquake records), by removal of the foreshocks and aftershocks and man-made seismicity changes and standardization of the reported magnitude scales, 3,574 earthquake events with a Mw ≥ 4.2 reported during 1977–2015 were found to directly represent the seismotectonic activities of the SFZ. In order to find the characteristic parameters specifically suitable for the SFZ, seven known events of Mw ≥ 6.0 earthquakes were recognized and used for retrospective tests. As a result, utilizing the conditions of a fixed 25 earthquake events considered (N) and 2 yr time window (Tw), a significantly high Z value was found to precede most of the Mw ≥ 6.0 earthquakes. Therefore, in order to evaluate the prospective areas of upcoming earthquakes, these conditions (N = 25 and Tw = 2) were applied with the most up-todate seismicity data of 2010–2015. The result illustrated that the vicinity of Myitkyina and Naypyidaw (Z = 4.2-5.1) cities might be subject to strong or major earthquakes in the future.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับการสนันสนุนจาก กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการประเมินอันตรายจากแผ่นดินไหว -- พม่าen_US
dc.subjectพยากรณ์แผ่นดินไหว -- พม่าen_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- พม่าen_US
dc.subjectรอยเลื่อนสะเกียง (พม่า)en_US
dc.subjectEarthquake hazard analysis -- Myanmaren_US
dc.subjectEarthquake prediction -- Myanmaren_US
dc.subjectFaults (Geology) -- Myanmaren_US
dc.subjectSagaing Fault Zone (Myanmar)en_US
dc.titleการประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคตตามแนวรอยเลื่อนสะเกียงตอนกลางประเทศพม่าด้วยวิธีการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว : รายงานวิจัยen_US
dc.title.alternativeInvestigations of the prospective areas of the upcoming earthquakes along the Sagaing Fault Zone, Central Myanmar using the seimicity rate change techniqueen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorSanti.Pa@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Santi Pa_b21469751.pdf19.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.